tripitaka-mbu / 15 /150041.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
15,0041,001,<B>ภนฺเต</B> สุนักขัตตะได้กราบทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ พระผู้มีพระ
15,0041,002,ภาคทรงเห็นสิ่งที่น่าตำหนิอะไร ในตัวของข้าพระองค์ จึงได้ตรัสอย่างนี้.
15,0041,003,ครั้งนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าเมื่อตรัสบอกแก่เขา ได้ตรัสคำว่า <B>นนุ เต</B>
15,0041,004,เป็นต้น. ด้วยคำว่า <B>มจฺฉรายติ</B> นี้ สุนักขัตตะ ได้กราบทูลถามว่า พระ
15,0041,005,ผู้มีพระภาคเจ้าทรงหวงพระอรหัต เพราะทรงดำริอย่างนี้ว่า ผู้อื่นจงอย่าได้
15,0041,006,เป็นพระอรหันต์ หรือ. คำว่า <B>น โข อหํ</B> อธิบายว่า ดูก่อนโมฆบุรุษ เรา
15,0041,007,ปรารถนาให้โลกมนุษย์พร้อมทั้งเทวโลกได้พระอรหันต์กันทั้งนั้น เราทำ
15,0041,008,กรรมที่ทำได้ยากมากมาย บำเพ็ญบารมีมากเพื่อประโยชน์อย่างนี้เท่านั้น
15,0041,009,เราไม่ได้หวงพระอรหัตเลย. คำว่า <B>ปาปกํ ทิฏฺ€ิคตํ</B> อธิบายว่า เขา
15,0041,010,บังเกิดมีความเห็นในผู้ที่มิใช่พระอรหันต์ว่า เป็นพระอรหันต์ และในผู้
15,0041,011,ที่เป็นพระอรหันต์ว่ามิใช่พระอรหันต์. พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า
15,0041,012,<B>ปาปากํ ทิฏฺ€ิคตํ</B> หมายถึงความเห็นผิดที่กล่าวมานั้น. คำว่า ยํ โข ปน
15,0041,013,ได้แก่ เธอสำคัญนักบวชผู้เปลือยกายรูปนั้นใด อย่างนี้.
15,0041,014,คำว่า <B>สตฺตมํ ทิวสํ</B> แปลว่า ในวันที่ ๗. บทว่า <B>อลสเกน</B>
15,0041,015,ได้แก่ ด้วยพยาธิชื่อ <B>อลสากะ.</B> คำว่า <B>กาลํ กริสฺสติ</B> แปลว่า มีท้องพองตาย.
15,0041,016,คำว่า <B>กาลกญฺชิกา</B>เป็นชื่อของอสูรเหล่านั้น. ได้ยินว่า อสูรเหล่านั้น มี
15,0041,017,อัตภาพยาวสามคาวุตมีเนื้อและโลหิตน้อย เช่นกับใบไม้เก่า มีตาออกมาติด
15,0041,018,อยู่บนหัวเหมือนปูมีปากเท่ารูเข็ม ติดอยู่บนหัวเช่นกัน ก้มตัวลงใช้ปากนั้น
15,0041,019,กินอาหาร. บทว่า <B>วีรณตฺถมฺภเก</B> อธิบายว่า ในป่าช้านั้น มีเสาปกคลุม
15,0041,020,"ด้วยกอหญ้า เพราะฉะนั้น จึงเรียกป่าช้านั้นว่า <B> ""วีรณตฺถมฺภก"".</B> คำว่า"
15,0041,021,<B>เตนุปสงฺกมิ</B> อธิบายว่า เมื่อพระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสเช่นนั้น เสด็จไป
15,0041,022,บิณฑบาตในบ้านนั้นแล้วเสด็จไปสู่วิหาร สุนักขัตตะ ได้ออกจากวิหารเข้า
15,0041,023,ไปหานักบวชเปลือยนั้น. คำว่า <B>เยน ตฺวํ</B> แปลว่า ท่านถูกพระผู้มีพระภาค
15,0041,024,ทรงพยากรณ์ไว้เพราะเหตุใด. อธิบายว่า เพราะเหตุที่ท่านถูกพระผู้มีพระ