|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
15,0040,001,สุนัข ทำกิริยาของสุนัขแม้อย่างอื่นอีก. บทว่า <B>จตุโกณฺฑิโก</B> คือเดินสี่
|
|
15,0040,002,ขา ได้แก่คู้เข่าสองข้างและศอกสองข้างลงบนพื้นเดินเที่ยวไป. บทว่า
|
|
15,0040,003,<B>ฉมานิกิณฺณํ</B> ได้แก่ ที่เรี่ยราย ใส่ไว้ วางไว้ บนพื้น. บทว่า <B>ภกฺขสํ</B>
|
|
15,0040,004,ได้แก่อาหาร คือของเคี้ยว ของบริโภคอย่างใดอย่างหนึ่ง. บทว่า <B>มุเขเนว</B>
|
|
15,0040,005,คือ มิได้ใช้มือหยิบอาหาร ใช้ปากอย่างเดียวเคี้ยวอาหารที่พึงเคี้ยว แม้
|
|
15,0040,006,อาหารที่พึงบริโภค. ก็ใช้ปากอย่างเดียวบริโภค. บทว่า <B>สาธุรูโป</B> ได้แก่
|
|
15,0040,007,มีรูปงาม. บทว่า <B>อรหํ สมโณ</B> ได้แก่ สมณะผู้เป็นพระอรหันต์องค์หนึ่ง.
|
|
15,0040,008,ศัพท์ว่า วต ในบาลีนั้น เป็นนิบาต ลงในอรรถแห่งความปรารถนา.ได้
|
|
15,0040,009,ยินว่า พระราชกุมารนั้น มีความปรารถนาอย่างนี้ว่า นักบวชอื่นที่จะจัด
|
|
15,0040,010,ว่าเป็นสมณะเช่นสมณะรูปนี้ ไม่มี เพราะสมณะรูปนี้ไม่นุ่งผ้า เพราะเป็น
|
|
15,0040,011,ผู้ มีความปรารถนาน้อย มีความสำคัญว่า สิ่งนี้เป็นเหตุให้เกิดความเนิ่นช้า
|
|
15,0040,012,จึงไม่ใช้แม้ภาชนะสำหรับใส่อาหาร กินอาหารที่กองอยู่บนพื้นเท่านั้น
|
|
15,0040,013,นักบวชรูปนี้จัดว่าเป็นสมณะ ส่วนพวกเราจะเป็นสมณะได้อย่างไร. สาวก
|
|
15,0040,014,ผู้เดินตามหลังพระพุทธเจ้าผู้เป็นสัพพัญญูอย่างนี้ ได้มีความนึกคิดชั่วเช่นนี้.
|
|
15,0040,015,คำว่า <B>เอตทโวจ</B> อธิบายว่า ได้ยินว่า พระผู้มีพระภาค ทรง
|
|
15,0040,016,ดำริว่า สุนักขัตตะ ผู้มีอัธยาศัยทรามนี้ เป็นนักบวชนี้แล้วคิดอย่างไรหนอ
|
|
15,0040,017,ครั้นทรงดำริอย่างนี้ ทรงทราบอัธยาศัยของเขา ทรงพิจารณาเห็นว่า
|
|
15,0040,018,โมฆบุรุษผู้นี้ เดินตามหลังของพระสัพพัญญูเช่นเรา ไปสำคัญนักบวชผู้
|
|
15,0040,019,เปลือยกายว่าเป็นพระอรหันต์ บัดนี้ คนพาลผู้นี้ ควรถูกตำหนิโทษ ณ ที่
|
|
15,0040,020,นี้แหละ ยังไม่ทันได้เสด็จกลับเลย ได้ตรัสคำว่า <B>ตฺวํปิ นาม</B> เป็นต้นนี้.
|
|
15,0040,021,ปิ ศัพท์ในคำว่า <B>ตฺวํปิ นาม</B> นั้น ลงในอรรถว่า ติเตียน. เพราะพระผู้มี
|
|
15,0040,022,"พระภาค เมื่อทรงติเตียนสุนักขัตตะ ได้ตรัสคำว่า <B>''ตฺวํปิ นาม"".</B> ในคำ"
|
|
15,0040,023,นี้ มีคำอธิบายดังนี้ ว่าแม้ตัวเธอมีอัธยาศัยทรามขนาดนี้ ยังจักปฏิญาณอย่าง
|
|
15,0040,024,นี้ว่า เราเป็นสมณะ ผู้เป็นศากยบุตร อีกหรือ. ด้วยคำว่า <B>กึ ปน เม</B>
|
|
|