content
stringlengths 2
11.3k
| url
stringlengths 26
27
| title
stringlengths 3
125
|
---|---|---|
แอบมีดักคอท้ายข่าวด้วย 555+ | https://jusci.net/node/2523 | มนุษย์และชิมแปนซีตัดสินใจตามคนหมู่มาก |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2524 | ไม่ใช่แค่รบอริราชศัตรู เพลี้ยไฟทหารสู้กับเชื้อโรคได้ด้วย |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2525 | เบื้องหลังทางประวัติศาสตร์ของตัวเลข 666 |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2526 | แพนด้าตัวผู้มีอารมณ์อย่างว่าแค่ 7 เดือนต่อปี |
อันนี้ความเห็นแยกนะครับ พอดีมีนักฟิสิกส์ (ใน Facebook ของผม) กระซิบมาว่า "สงสัยอีตา Dmitri Krioukov จะไม่ได้จอดรถแน่ๆ แต่ใช้วิชามารให้ตัวเองรอด"
อันนี้ใครเก่งๆ ฟิสิกส์ ก็ลองดาวน์โหลดเปเปอร์ตัวเต็ม จับผิด Dmitri Krioukov ดู | https://jusci.net/node/2527 | นักฟิสิกส์ใช้ทฤษฎีพิสูจน์ว่าตัวเองไม่ผิดกฏจราจร |
ตัวหลอดไฟเป็น LED สีฟ้าและสีแดงแต่ฝาปิดหลอดเป็นสีเหลือง
หมายความว่ายังมีแสงบางส่วน loss ไปอีกเยอะสินะครับ | https://jusci.net/node/2528 | ฟิลิปส์เตรียมวางขายหลอดไฟ LED รุ่นที่ได้รับรางวัล L Prize |
แนะนำอ่านประกอบครับ เกี่ยวกับ นักชีววิทยาสันนิษฐานว่า ไมโทคอนเดรีย เป็นพวกแบคทีเรียหรืออะไรที่คล้ายๆ กัน ที่โดนเซลล์ที่มีขนาดใหญ่กว่า "กิน" เข้าไป
http://jusci.net/node/1759 | https://jusci.net/node/2529 | เจอญาติของไมโทคอนเดรียอีกสาย... ต้นกำเนิดโรงปั่นพลังงานประจำเซลล์ไม่ใช่ตัวที่เคยคิด |
ชักอยากเห็นภาพหลอดนี้ตอนทำงานถูกถ่ายด้วยกล้องที่ถ่ายแสงวิ่งได้ตัวนั้นเสียแล้ว | https://jusci.net/node/2530 | จัดไปทีละดอก... หลอด LED เพชรผลิตโฟตอนทีละตัว |
จีนส่งจรวดเป็นลำ แต่สหรัฐส่งจรวดเป็นดวงเหรอครับเนี่ย XD
ไปถึง 31 ลำ เท่านั้น และ
ตรงเท่านั้นเว้นแปลก ๆ อ่านแล้วสับสนด้วย
ยิ่งใหญ่ขึ้นทุกวัน เฮ้อ | https://jusci.net/node/2531 | ปี 2011 จีนส่งจรวดขึ้นสู่อวกาศมากกว่าสหรัฐฯ เป็นปีแรก |
แกเป็นแฟนบัวขาวเปล่าเนี่ย.... | https://jusci.net/node/2532 | นักวิจัยไวรัสไข้หวัดนกยืนยันจะตีพิมพ์งานวิจัย แม้จะต้องติดคุก |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2533 | masterpiece ของนิวตันเกือบไม่ได้ตีพิมพ์เพราะหนังสือปลา |
มิน่า ถึงปิดไฟ | https://jusci.net/node/2534 | ขณะดูหนังโป๊ สมองส่วนการมองเห็นของผู้หญิงจะทำงานน้อยลง |
ตอนท้ายมีแอบระบาย | https://jusci.net/node/2535 | นักฟิสิกส์แยก "อนุภาคที่สาม" ของอิเล็กตรอนได้สำเร็จ |
ช่างสรรหาหัวข้อวิจัย
(หลังจากอ่านงานวิจัยนี้แล้ว ผู้ชาย9ใน10 ต้องกดลิงค์เวปเจ้าของรูปแน่นอน) | https://jusci.net/node/2536 | [18+] ผู้ชายชอบจิ๋มสีชมพูมากกว่าสีแดง |
ถ้าสมมติว่าเกิดมีความรู้สึกผูกพันธ์กับหุ่นยนต์ขึ้นมาจริงๆ ผมว่าคงไม่ยุ่งนะ ก็เห็นว่ามีชาวต่างชาติหลายๆ คนก็มีเซ็กกับจักรยาน รั้วบ้าน ฯลฯ เยอะแยะ | https://jusci.net/node/2537 | นักวิชาการนิวซีแลนด์คาด "โลกอนาคตจะมีหุ่นยนต์ขายบริการทางเพศแทนมนุษย์" |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2538 | ภาพ "สีของดาวพุธ" จาก MESSENGER |
การตรวจสอบ ไม่ได้อยู่ในเวลากำหนดการปล่อยจรวด | https://jusci.net/node/2539 | SpaceX เลื่อนการยิงแคปซูล Dragon ออกไปอีกหนึ่งอาทิตย์ |
สกัด ดีเอ็นเอ มาทำโคลน ได้ไหมหนอ | https://jusci.net/node/2540 | ประโยชน์ใหม่ของทากดูดเลือด...ในงานอนุรักษ์สัตว์ป่า! |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2542 | นักวิจัยไวรัสไข้หวัดนกกลับลำยอมอ่อนข้อรัฐบาลเนเธอร์แลนด์ |
จิงนะ นักวิทยาศาสตร์ช่างคิดจิง ๆ | https://jusci.net/node/2543 | สสารมืดหายไปต่อหน้าต่อตา |
หางสวยดี เดี๋ยวก็มีคนจับมาเลี้ยง | https://jusci.net/node/2544 | พบหนูยักษ์พันธุ์หายากในฟิลิปปินส์ หลังไม่พบมา 37 ปี |
ผมว่ามันขึ้นอยู่กับความรู้วิทยาศาสตร์นะครับ นักคณิตศาสตร์เก่งๆหลายๆคน(เช่น Gauss)
ก็ยังมีความศรัทธาในศาสนาอยู่ | https://jusci.net/node/2545 | การคิดวิเคราะห์ทำให้คนเชื่อในศาสนาน้อยลง |
แว่นสายตาที่ไม่ต้องล้าง | https://jusci.net/node/2546 | นักวิจัยจาก MIT พัฒนากระจกมหัศจรรย์ กันรอยไอน้ำและตัดแสงสะท้อนได้ |
โขว์ -> โชว์
ถังเก็บน้ำ? ในต้นฉบับเหมือนจะเป็นแนวที่พักอาศัยของนักกีฬาและบุคลากรที่เข้าร่วมงานโอลิมปิกหรือเปล่าครับ? | https://jusci.net/node/2547 | อังกฤษอาจวางจรวดต่อต้านอากาศยานไว้รอบลอนดอนช่วงโอลิมปิก |
ความหนาแน่ใน
หนาแน่นครับ
ตัวขึ้นมารพร้อม
ขึ้นมาพร้อมจอมมาร เอ้ย ขึ้นมาพร้อมครับ
แล้วมันหมุนคนละด้านกับดวงอื่น แนวไหนอ่ะครับถึงรอดมาจนทุกวันนี้ได้ไม่เคยชนกันเลย | https://jusci.net/node/2548 | ดาวเสาร์อาจจะดึงดาวเคราะห์ดวงอื่นมาเป็นดวงจันทร์ของตัวเอง |
ปั่นไป = = | https://jusci.net/node/2549 | กังหันลมปั่นไปทำให้พื้นดินร้อนขึ้นในเวลากลางคืน |
เอ้อ ผมถามหน่อยครับ คุณ terminus คงเคยได้ยินตลกร้ายเรื่อง มนุษย์ลิงมาบ้าง
ผมขอถามว่า การ์ตูนนี้มีความเป็นไปได้ใหมครับ
ตลกร้ายเรื่องแรก ชายผู้งดงามตามธรรมชาติ
http://p-ach.com/?p=148
เรื่องที่สอง คนโง่จะครองโลก
http://p-ach.com/?p=107
ถ้าเราพิจรณาเฉพาะการคัดเลือกตามธรรมชาติ มีโอกาสแค่ใหนครับ ที่ตลกร้ายทั้งสองจะเป็นเรื่องจริง | https://jusci.net/node/2550 | ดาร์วินยังคงอยู่กับเรา: มนุษย์สมัยใหม่อยู่ภายใต้กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ |
ตรงหัวข้อนี่ แบบ มันคือ แบบไหน อะไรยังไง - -" | https://jusci.net/node/2551 | กองทัพเรือสหรัฐฯ ทดสอบยานบินไร้คนขับสอดแนมแบบบินแนวตั้งได้ |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2552 | แนะนำโปรแกรม NetLogo |
อ้าว เขียนมาซะยาว ไม่ได้เกี่ยวอะไรกับหนังสือเลยนี่หว่า ^.^
ผมหน่ะอ่านรอว่า จะอธิบายหรือแนะนำหนังสือว่าอะไรบ้าง จบแบบนี้เลยเรอะ 555 | https://jusci.net/node/2553 | โฆษณา "The Social Conquest of Earth" หนังสือเล่มใหม่ของ Edward O. Wilson |
งานนี้พี่แดรกคูล่า ตายหยังเขียดแหงๆ | https://jusci.net/node/2554 | สารสกัดจากกระเทียมฆ่าแบคทีเรียโรคอาหารเป็นพิษได้ดีกว่ายาปฏิชีวนะ 100 เท่า |
ได้ใจก็อีตรง "คิดดูสิว่ามีหรือที่คุณหลวงจะลดตัวลงไปเอาอีแพงทำเมียเว้นเสียแต่ว่าจะมีเวทมนตร์คาถาทำเสน่ห์อะไรเข้าช่วย" | https://jusci.net/node/2556 | พบไวรัสลูกผสม RNA-DNA |
ทีโลเมียร์ (telomere) คือบริเวณปลายสุดของแท่งโครโมโซม (chromosome) ซึ่งจะหดสั้นลงทุกครั้งที่โครโมโซมถูกจำลองขึ้นมาใหม่ อันเนื่องมาจากข้อจำกัดของกลไกการจำลองสาย DNA ที่เราใช้กันมาเป็นพันล้านปี นอกจากนี้ยังได้รับความเสียหายได้จากกระบวนการทำงานที่ผิดพลาดภายในเซลล์ได้อีกด้วย
ความยาวของทีโลเมียร์ส่งผลต่ออายุขัยของเซลล์ หากทีโลเมียร์ของเซลล์ใดก็ตามสั้นลงเกินกว่าจะยอมรับได้ เซลล์นั้นจะหยุดทำงานและตายลงในที่สุด การหดสั้นลงของทีโลเมียร์ เป็นหนึ่งในทฤษฎีที่ใช้อธิบายว่าทำไมเราจึงแก่ ความผิดปกติของการควบคุมความยาวของทีโลเมียร์มีหลักฐานบ่งชี้ว่าเป็นสาเหตุของโรคหลายชนิด เช่น โรคมะเร็ง และโรคความผิดปกติของการสร้างเคราตินแต่กำเนิด (dyskeratosis congenita) เป็นต้น
โดยปกติแล้วทีโลเมียร์จะถูกห่อหุ้มและป้องกันไว้ด้วยกลุ่มของโปรตีนที่เรียกว่า "เชลเทอริน" (Shelterin - รากศัพท์มาจากคำว่า "shelter") ดังนั้น เมื่อไม่มีเชลเทอรินคอยป้องกัน บริเวณปลายสายของ DNA จะห้อยต่ิองแต่ง ทำให้เซลล์นึกว่าเป็นสาย DNA ที่แตกหักออกจากกัน จึงเกิดการส่งสัญญาณให้มีการซ่อมแซม DNA ที่บริเวณปลายสาย ซึ่งก่อให้เกิดความเสียหายแก่ทีโลเมียร์มากขึ้นไปอีก (ซึ่งปกติเป็นวิธีการที่ "เป็นมิตร" กับพวกเรา เพราะใช้ซ่อมแซม DNA ที่แตกหักออกจากกันในบริเวณอื่นๆ ที่ไม่ใช่ทีโลเมียร์)
เชลเทอรินประกอบไปด้วยโปรตีนอีกหลายชนิด ซึ่งแต่ละชนิดทำหน้าที่ต่างกันไปในการยับยั้งไม่ให้เกิดกระบวนการการซ่อมแซม DNA (ซึ่งเป็นตำแหน่งเราไม่ต้องการ) นักวิจัยจะพยายามกำจัดโปรตีนที่ประกอบขึ้นเป็นเชลเทอรินทีละตัวๆ เพื่อดูผลของการขาดเชลเทอรินจะทำให้ทีโลเมียร์ต้องเจออะไรบ้าง และพบว่าทีโลเมียร์ที่ห้อยต่องแต่งจะกระตุ้นการซ่อมแซม DNA ได้ 4 วิธี
1. การแลกเปลี่ยนชิ้นส่วนของสารพันธุกรรมระหว่างคู่โครโมโซม (homology-directed recombination: HDR) ซึ่งจะทำให้ลำดับเบสจำเพาะของทีโลเมียร์สูญเสียเอกลักษณ์ และความยาวของทีโลเมียร์ก็เปลี่ยนไปด้วย
2. เชื่อมต่อปลายสาย DNA เข้าด้วยกัน (non-homologous end joining: NHEJ) ซึ่งจะทำให้ปลายสายของ DNA อีกเส้นถูกนำไปเชื่อมต่อกับ DNA อีกเส้น ผลที่ตามมาคือโครโมโซมที่มีรูปร่างผิดปกติ
3. และ 4. การกระตุ้นการทำงานของยีน ATM และ ATR (ataxia telangiectasia mutated และ ataxia telangiectasia and Rad3 related) มีผลทำให้เซลล์หยุดการแบ่งเซลล์และตายลง
แต่กระนั้นก็ยังพบว่า โปรตีนที่หลงเหลืออยู่สามารถทำงานชดเชย และทำงานแทนกันได้ ทำให้เกิดแนวคิดว่าตราบใดที่ยังมีโปรตีนที่ประกอบกันเป็นเชลเทอรินหลงเหลืออยู่ เราก็ไม่สามารถรู้หน้าที่การทำงานของเชลเทอรินได้ รวมถึงไม่รู้ด้วยว่าทีโลเมียร์จะต้องเผชิญกับการคุกคามอะไรอีกบ้าง
ทีมนักวิจัยจากห้องปฏิบัติการชีววิทยาระดับเซลล์และพันธุศาสตร์ มหาวิทยาลัยร็อกกี้เฟลเลอร์ ได้ตัดต่อพันธุกรรมของเซลล์จากหนูทดลอง จนได้เซลล์ที่ไม่มีกลุ่มโปรตีนเชลเทอรินหลงเหลืออยู่เลย พวกเขาค้นพบวิธีการที่ทำให้ทีโลเมียร์สั้นลงเพิ่มขึ้นอีก 2 วิธี ได้แก่
alternative NHEJ: เป็น NHEJ ที่ใช้โปรตีนคนละชุดกับ NHEJ แบบดั้งเดิม
การตัดปลายสาย DNA ทิ้ง (hyperresection): เป็นการตัดปลายด้านที่ห้อยต่องแต่งของปลาย DNA ทิ้งไปเสีย (คล้ายๆ กับการใช้กรรไกรเล็มปลายผมที่แตกปลาย)
อย่างไรก็ตาม ก็ยังมีอีกหลายคำถามรอให้นักวิทย์หาคำตอบ เช่น โปรตีนแต่ละตัวที่ประกอบกันเป็นเชลเทอรินทำงานร่วมกันอย่างไร และความผิดพลาดใดของเชลเทอรินที่ทำให้การรักษาสภาพของทีโลเมียร์ล้มเหลว และก่อให้เกิดโรคในที่สุด
ข่าวจาก: The Scientist - Six Threats to Chromosomes
อ้างอิง
- The Scientist - Telomeres in Disease
- บทคัดย่อของงานวิจัยฉบับเต็ม | https://jusci.net/node/2558 | นักวิจัยพบปลายโครโมโซมหดสั้นลงได้เพิ่มอีก 2 วิธี |
แสดงว่าสเปิร์มมันกระดิ๊บกระดิ๊บไปตามผนังมดลูกจนถึงไข่สินะ แต่แอบสงสัยว่าเค้าใช้วิธีไหนทำทางวงกตที่เล็กได้ขนาดนั้น แถมมีของเหลวอยู่ข้างในอีก | https://jusci.net/node/2562 | ชีวิตเราล้มลุกคลุกคลาน... ตั้งแต่ยังเป็นสเปิร์ม |
ถ้าจำเป็นต้องใช้ครีมกีนแดดที่มีส่วนผสม ZnO หรือ TiO2 ให้หลีกเลี่ยงยี่ห้อที่โฆษณาว่าใช้อนุภาคทั้งสองชนิดในขนาดนาโนเมตรนะครับ จะช่วยให้เซลล์ตายได้น้อยลงกว่ามาก (ถ้างานวิจัยเป็นจริงกับผิวหน้า) | https://jusci.net/node/2564 | ส่วนผสมหลักในครีมกันแดดอาจเป็นอันตรายต่อเซลล์ |
โอะ พุทธิปัญหา เดี๋ยวคุณ terminus จะมาโวยวายนะครับ | https://jusci.net/node/2566 | อ่านใจหมาด้วยเครื่องสแกนสมอง |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2567 | ประชากรวาฬสีเทาในยุคก่อนอาจมากกว่าที่เคยมีการบันทึกไว้ |
เย้ ดรามา มาแล้ว
ps0. รู้สึกว่าพักนี้ตัวเองเกรียนจัง แต่ประเด็นนี้มันบาดใจแปลกๆ ไม่ใช่เรื่องจงรักภัคดีอะไรหรอก
เรื่องบนเตียงล้วนๆ
ดูคลิปนี้ประกอบ
http://www.youtube.com/watch?v=7h5kqY8PErQ | https://jusci.net/node/2568 | ผู้ชายจะเป็น "พ่อ" ของเด็กโดยที่ไม่ต้องอึ๊บแม่ของเด็กได้หรือไม่? |
อ้าว แบบนี้ คนเช้าชู้ครับ ช่วยเผ่าพันธุ์เราด้วย | https://jusci.net/node/2569 | ไม่ยอมหายไปง่ายๆ! โครโมโซม Y ยังคงมีหน้าที่สำคัญ (อย่างน้อยก็ในไก่) |
"รังสืคอสมิกมหาศาลหลุดรอดเข้ามาชนโลก" ---> รังสี ครับ
ว่าแต่เป็นทฤษฏีโลกแตกที่ฟังขึ้นเหมือนกันแฮะ | https://jusci.net/node/2570 | เกราะป้องกันของระบบสุริยะอาจอ่อนกว่าที่เคยคาด เพราะดวงอาทิตย์แล่นอืดเกินไป |
แย่ละ ผมดื่มกาแฟไม่สำเร็จสักที - -"
เห็นข่าวนี้แล้วพาลสงสัย สมัยนี้มองไปทางไหนก็เห็นแต่ "ไม่มีน้ำตาล ใช้สารให้ความหวานแทนน้ำตาล" เต็มไปหมด สารให้ความหวานแทนน้ำตาลสมันนี้มันไม่มีข้อเสียเหรอครับ???
แล้วอีกนิด ไอ้น้ำตาลหนึ่งช้อนเนี่ย มันทำให้อ้วนได้เลยเหรอ อย่างพวกหมากฝรั่งไม่มีน้ำตาลเนี่ย ถ้าเป็นสูตรปกติมันจะมีน้ำตาลอยู่สักเท่าไหร่กัน | https://jusci.net/node/2571 | คอกาแฟมีเฮ! คาเฟอีนช่วยยับยั้งอาการความจำเสื่อมจากโรคเบาหวาน |
แต่ของเจ๊เลดี้กาก้าแกหลั่งออกมาเป็นน้ำมันก๊าซหรือไง? | https://jusci.net/node/2573 | ทำไมแคลเซียมในน้ำนมถึงไม่เปลี่ยนให้หัวนมกลายเป็นกระดูก |
อ้อ พิมพ์ด้วยอารมณ์ไปนิด ความจริง หลักสุดท้ายไม่สำคัญอาจจะเป็นเพราะว่ามันเป็นเลขที่สามารถคำนวนย้อนกลับได้ โดยเอาเลขที่คำนวนย้อนกลับมาเทียบกับหลักสุดท้ายของอากง ก็จะได้คำตอบ
อืม อืม
ไม่เลวๆ แต่ยังไงก็ใช้ตำพูดผิดอยู่ดี | https://jusci.net/node/2575 | เกี่ยวกับหมายเลข อีมี่กรณีอากง |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2576 | "Encyclopedia of Life" มีบันทึกของสิ่งมีชีวิตครบล้านชนิดแล้ว |
ข่าวอีก 10 ปีข้างหน้า
นักฟิสิกส์ใช้ไอเดียจากการเคลื่อนที่ของ Myxococcus xanthus สร้างเรือดำน้ำที่ประหยัดพลังงานที่สุดในโลก | https://jusci.net/node/2577 | นักวิทยาศาสตร์ไขความลับแบคทีเรียที่ว่ายน้ำได้โดยไม่ต้องใช้หาง |
และยาที่กินเพื่อให้ลืมก็จะเป็นที่ต้องการกันอย่างมากเช่นกัน T_T | https://jusci.net/node/2578 | ชีววิทยาว่าด้วยการหลงลืม |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2579 | ยิ่งสวดภาวนาให้ ผู้ป่วยยิ่งอาการแย่ |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2580 | ปรัชญากำลังโดนวิทยาศาสตร์ช่วงชิงพื้นที่ไปหรือไม่ (อ่านบทสัมภาษณ์ Lawrence Krauss) |
และการชนส่งเสบียง-วัสดุ
แหลกแน่ครับ XD น่าจะเป็นขนส่งนะ
คราวก่อนดูถ่ายทอดสดกระสวยอวกาศครั้งสุดท้าย คราวนี้มาดูส่งเอกชนจะไปเชื่อมครั้งแรก จะมีถ่ายทอดการเชื่อมต่อด้วยมั้ยครับเนี่ย | https://jusci.net/node/2582 | SpaceX กำหนดวันยิงแคปซูล Dragon เป็นวันที่ 19 พฤษภาคม ศกนี้ |
กร๊ีดดดดดดด | https://jusci.net/node/2583 | จากใยแมงมุมสู่อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ |
bicalcarata ในวงการคนเลี้ยงหม้อ ขึ้นชื่อว่าเป็นสายพันธ์ที่เลี้ยงยากและโตช้า มิน่าๆ เดี๋ยวขอเอาบทความนี้ไปเผยแพร่ในกลุ่มผมต่อนะครับ (คนนิยมหม้อแกงลิง) | https://jusci.net/node/2584 | มด... กองทัพผู้ช่วยตัวน้อยของต้นหม้อข้าวหม้อแกงลิง |
Staphylococcus น่าจะเป็นแบคที่เรียที่ใช้ออกซิเจน และพบได้ตามผิวหนังทั่วๆร่างกายนะ
อีกอย่าง น่าจะมีคนไปสำรวจว่าแบคที่เรียในช่องปากของคนที่ไม่เคย oralsex ต่างจากคนที่เคยอย่างไร | https://jusci.net/node/2585 | แบคทีเรียที่อยู่กับจู๋อาจช่วยป้องกันโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ |
ชื่อข่าว "ประเทส"
ประเทศครับ
เตรียมเชือม
เชื่อม
จะลาดพลังงานลม
ไม่แน่ใจว่า "ลาก" หรือเปล่าครับ | https://jusci.net/node/2586 | จีนเตรียมสร้างระบบกริดไฟฟ้าทั่วประเทศ 2,210 กิโลเมตร |
ไม่จริงนะ มองผู้หญิงเซ็กซี่ที่ไม่รู้จัก ก็เกิดอารมณ์
ส่วนที่รู้จัก ไม่มีเซ็กซี่ เลยไม่มีอารมณ์ | https://jusci.net/node/2587 | หนุ่มรูปงามถูกมองว่าเป็นคน สาวสคราญถูกมองเป็นวัตถุ |
ผมถนัดแบบสัตว์ชั้นสูงมากกว่า
ประเภท โค
โคโยตี้
O_o | https://jusci.net/node/2588 | ญาติที่ใกล้ชิดที่สุดของ "เต่า" อาจไม่ใช่กิ้งก่า แต่เป็นนกและจระเข้ |
ลิงก์ piezoletric แค่ครั้งเดียวก็น่าจะพอนะครับ และคำนี้ก็ไม่ต้องใช้ตัวใหญ่ด้วย?
แต่ตรงที่มาใช้ตัวใหญ่นะครับ (คิดว่าชื่อเว็บอย่างเป็นทางการคือ New Electronics | https://jusci.net/node/2589 | นักวิจัยทดลองใช้เชื้อไวรัสเพื่อผลิตพลังงานไฟฟ้า |
17.30 น. อ่านไปไม่เข้าใจเลย = =" | https://jusci.net/node/2590 | 10 อย่างที่ genome บอกคุณไม่ได้ |
ว้าว ขอให้ได้รางวัลกลับมาครับ | https://jusci.net/node/2591 | 9 นักเรียนไทยเข้าร่วมงานประกวดอินเทล ไอเซฟรอบสุดท้ายที่สหรัฐฯ |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2592 | เดาสาขานักวิทยาศาสตร์จาก label บนหลอดเก็บตัวอย่าง |
555555+
ลุ้นเหมือนกันเลยครับ | https://jusci.net/node/2593 | วืด!... SpaceX สั่งยุติการปล่อยแคปซูล Dragon กลางคัน |
เคยนึกเหมือนกันว่าภาวะโลกร้อนจะทำให้เมฆกลายเป็นฝนได้ยากขึ้นบ้างหรือเปล่า เผื่อจะช่วย ๆ บังแดดไว้บ้าง
แต่ตราบเท่าที่มันเป็นภาวะเรือนกระจก ผมว่าหายร้อนได้สักพักมันก็ร้อนอีก | https://jusci.net/node/2594 | รังสีคอสมิกทำให้มีเมฆมากขึ้น ช่วยลดภาวะโลกร้อน |
ถ้ามันสืบพันธุ์แบบอาศัยเพศไม่ได้นี่ถือว่าเป็นเรื่องดีเพราะโอกาสกลายพันธุ์จะต่ำ เบียร์จะออกมาเหมือน ๆ กันทุกถังหรือเปล่าครับ? | https://jusci.net/node/2595 | เรามีเบียร์ลาเกอร์เพราะแมลงวันกับยีสต์บนต้นบีช |
อุปกรณ์กีฬาก้อกลม ปิงปอง เทนนิส บอล วอลเล่ ก๊อลฟ สนุ๊กเกอร์
บาสเกตบอล โบวลิ่ง ฮอกกี้ โปโล เบสบอล ตะกร้อ เปตอง คริกเกต
รูเล็ต ect. | https://jusci.net/node/2596 | [บทความแปลพิเศษ] ทำไมสัตว์จึงไม่มีล้อ? |
ในที่สุด... | https://jusci.net/node/2597 | แคปซูลอวกาศ Dragon ถูกยิงขึ้นสู่วงโคจรแล้ว... เริ่มต้นยุคแห่งการท่องอวกาศเชิงพาณิชย์ |
entanglement มันทำกันง่ายขนาดนั้นแล้วเหรอ - -" | https://jusci.net/node/2598 | นักเรียนไทยคว้ารางวัลจากงานอินเทล ไอเซฟ รอบสุดท้าย, ผลงานเครื่องมือตรวจมะเร็งตับอ่อนจากเด็กสหรัฐฯ อายุ 15 ปีชนะเลิศรางวัลใหญ่ |
ร่วมกันสร้างสังคมที่ดีกว่า ด้วยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ท่านสามารถเข้าใช้งานเว็บโดยสมัครสมาชิก Blognone.com แล้วใช้รหัสผ่านเดียวกันบนเว็บนี้
ใครๆ ก็สามารถร่วมเขียนข่าวกับเราได้ง่ายๆ ล็อกอินแล้วคลิก Create Content เลือก Blog entry เขียนข่าวที่คุณสนใจ ในรูปแบบที่คุณต้องการ และอย่าลืมที่มาของแหล่งข่าว สามารถดูรายละเอียดเพิ่มเติมใน หลักการเขียนข่าวเบื้องต้น หรือตัวอย่างจากข่าวเก่าๆ
เมื่อเสร็จแล้ว ข่าวของคุณจะอยู่ใน Upcoming News เมื่อเราตรวจตัวสะกดและความถูกต้องแล้ว ก็จะนำข่าวของคุณขึ้นหน้าแรกทันที
Active forum topics | https://jusci.net/node/2599 | ค้างคาวช่างเลือก: ไม่ใช่แค่ได้ยินเสียง ต้องต้องอร่อยด้วย |
"เรื่องราวของหนุ่มน้อยนามว่า "อะตอม" ได้พบกับอะตอม ซึ่งชื่อเหมือนตัวเค้า เค้าค้นพบว่ามันเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และเล่นกับมันไปเรื่อยๆ"
คลิปอนิเมชั่นคลิปนี้สร้างมาจากการเคลื่อนย้ายอะตอมแบบช็อตต่อช็อต (Frame by Frame) ด้วยเทคนิคแบบ Stop Motion และได้ฝากชื่อไว้ในหนังสือกินเนสบุ๊ค ในฐานะของ "คลิปสต็อปโมชั่นที่เล็กที่สุดในโลก" เป็นที่เรียบร้อยแล้วครับ (คลิปหลังเบรคครับ)
ผมก็ไม่ใช่ว่าจะเป็นคนที่ฟังเก่งเสียด้วยสิ งั้นเอาเท่าที่ผมจับใจความได้ + หาข้อมูลเพิ่มเติมให้ก็แล้วกันนะครับ
เป้าหมายหลักของงานวิจัยชิ้นนี้คือ การศึกษาเกี่ยวกับเทคโนโลยีการจัดเก็บข้อมูล ซึ่งบริษัท IBM ได้ทำการค้นคว้าศึกษาวิจัยมาต่อเนื่องยาวนานกว่า 20 ปี และลดขนาดลดลงเรื่อยๆ จากเท่าตู้เย็นเหลือเพียง 12 อะตอม ในปัจจุบัน (อ้างอิงจาก IBM นะครับ พวกเขาบอกว่านี่เป็นพื้นที่ขนาดเล็กที่สุดที่จะต้องใช้เพื่อเก็บข้อมูลขนาด 1 บิต)
ในการเคลื่อนย้ายอะตอมจะทำผ่านเครื่อง STM (Scanning Tunneling Microscope) ซึ่งต้องทำในห้องปฏิบัติการระบบปิด (พวกเขาบอกว่า เวลาเครื่องทำงานต้องปิดไฟให้หมด อยู่ในห้องเก็บเสียง และต้องทำภายใต้อุณหภูมิที่ต่ำประมาณ -250 องศาเซลเซียสเลยทีเดียว) ขณะทำการเคลื่อนย้ายอะตอมของคาร์บอนไดออกไซด์จะมีเสียงดัง "แซร่กๆ" บ้างเล็กน้อย (ฟังในคลิปเบื้องหลังละกันนะครับ) และเสียงนี้เองที่เป็นเหมือนเครื่องมือที่ใช้ตรวจสอบความถูกต้องว่ามันได้ย้ายอะตอมไปแล้วกี่อะตอม
เวลาทำงานจริงๆ พวกเค้าจะอยู่อีกหนึ่งห้อง (เพื่อไม่ให้เป็นการรบกวนเครื่อง STM ที่เเสนจะเซนซิทีฟ) นั่งดูผลลัพธ์ที่สแกนมาจากเครื่องผ่านคอมพิวเตอร์ นั่งย้ายอะตอมราวๆ 5,000 อะตอม จนกระทั่งได้มาเป็นภาพยนตร์ที่เห็นไปข้างต้นครับ ใครสนใจข้อมูลเพิ่มเติม ตามลิงก์ YouTube ด้านล่างเลยครับ
ที่มา : IBM Research , YouTube | https://jusci.net/node/3000 | A boy and his atom : ภาพยนตร์ที่เล็กที่สุดในโลก |
ประเด็นการคุมกำเนิดเป็นประเด็นทางการเมืองในหลายประเทศทั่วโลก ประเทศที่มีการถกเถียงเรื่องนี้มากๆ เช่น ฟิลิปปินส์ที่เพิ่งผ่านกฎหมายคุมกำเนิดมาได้ ในสหรัฐฯ ประเด็นเดียวกันแต่กำลังเดินหน้าไปอีกระดับเมื่อการต่อสู้ว่าร้านขายยาจะสามารถขายยาคุมกำเนิดฉุกเฉินให้แก่เยาวชนได้หรือไม่
ก่อนหน้านี้ FDA (อย. ของสหรัฐฯ) อนุญาตให้ขายยาคุมกำเนิดฉุกเฉินให้กับหญิงอายุเกิน 17 ปีเท่านั้น หากเป็นกรณีอื่นๆ จะต้องมีใบสั่งยาจากแพทย์ แต่ถูกฟ้องจนกระทั่งศาลยกเลิกคำสั่งนี้ และสั่งให้ FDA ต้องอนุญาตให้หญิงทุกคนเข้าถึงยาคุมกำเนิดฉุกเฉินได้ภายใน 30 วัน เมื่อผ่านมาใกล้ครบกำหนด FDA ปรับคำสั่งของตัวเองเป็นการอนุญาตให้หญิงอายุเกิน 15 ปีสามารถสั่งซื้อยาคุมกำเนิดฉุกเฉินได้
คำสั่งของ FDA สร้างความไม่พอใจให้กับกลุ่มเรียกร้องสิทธิในการคุมกำเนิด และทางฝั่งกระทรวงยุติธรรมสหรัฐฯ ก็ระบุว่าจะดำเนินการคัดค้านคำสั่งนี้ต่อไป
คำสั่งของ FDA นั้นนอกจากระบุอายุแล้ว ยังสั่งให้ร้านขายยาต้องขอเรียกดูหลักฐานอายุจากผู้ซื้อทุกครั้ง เช่น ใบขับขี่, พาสปอร์ต, ไปจนถึงสูติบัตรหากจำเป็น
ที่มา - Washington Post, The Economist | https://jusci.net/node/3002 | สงครามยาคุมกำเนิด, FDA อนุญาตให้จำหน่ายยาคุมกำเนิดฉุกเฉินให้เด็กอายุ 15 ปีขึ้นไป |
ก่อนที่ไวรัสจะเข้าไปยังเซลล์ของสิ่งมีชีวิตได้ ไวรัสจะเปลี่ยนรูปร่างจากทรงกลม ให้กลายเป็นรูปนาฬิกาทราย หลังจากนั้นจะเข้าไปในเซลล์ และใช้เซลล์ที่ติดเชื้อเป็นแหล่งผลิตไวรัสรุ่นต่อ ๆ ไป
จากข้อมูลตรงนี้ ทีมนักวิจัยซึ่งนำโดย Che Colpitts และ Luis Schang แห่งมหาวิทยาลัย Alberta ได้สร้างยารูปแบบใหม่ขึ้นมา โดยที่ยาจะสอดแทรกตัวเองเข้าไปในตัวไวรัสตรงจุดที่กำหนด ทำให้ไวรัสไม่มีพลังงานมากพอที่จะเปลี่ยนรูปร่าง และรวมเข้าเซลล์ ไวรัสก็จะไม่สามารถแพร่เชื้อต่อไปได้ แต่สำหรับเซลล์ที่ติดเชื้อไปแล้ว ยาตัวนี้จะไม่มีผลอะไร
ในขณะนี้ ทีมนักวิจัยได้ทดลองยารูปแบบใหม่นี้ในห้องปฏิบัติการด้วยวิธีต่าง ๆ หลังจากเคยทดสอบในจานเพาะเชื้อมาก่อนหน้านี้ และได้จดสิทธิบัตรวิธีการนี้เป็นที่เรียบร้อยแล้ว
ที่มา: MedicalXpress | https://jusci.net/node/3016 | หนทางใหม่ ยารูปแบบใหม่ เพื่อต่อสู้กับไวรัส |
มีผู้เชี่ยวชาญหลายคนบอกเราว่า "การคิดคำนวณอย่างรอบคอบ จะทำให้เราตัดสินใจได้ดีขึ้น" แต่จากการศึกษาของ Kwanho Suk แห่ง Korea University Business School พบว่า คนที่เชื่อมั่นในข้อมูลที่มีอย่างละเอียดนั้น มักจะคาดเดาผลการแข่งขั้นกีฬาได้ไม่ดีนัก
จากการวิเคราะห์ข้อมูลการวางพนันกว่า 1.9 ล้านรายการของบริษัทด้านการพนันกีฬารายใหญ่ของเกาหลีตั้งแต่ปี 2008 - 2010 ทีมงานของ Suk พบว่า คนที่วางพนันว่า ทีมฟุตบอล หรือทีมเบสบอลทีมนั้นจะแพ้หรือชนะ นั้นสามารถคาดเดาผลการแข่งขันได้ถูกต้องกว่าคนที่วางพนันในเรื่องของผลคะแนน
และเมื่อทีมของ Suk ทำการทดลองกับอาสาสมัครโดยให้ทายผลแพ้ชนะ และผลคะแนนการแข่งขันก็ได้ผลเช่นเดียวกัน นอกจากนี้ผลการทดลองนี้ยังบอกอีกว่า ข้อมูลอย่างละเอียด เป็นต้นว่า ความสามารถในการบุก ตั้งรับ รวมถึงความสามารถของโค้ช ไม่ได้ช่วยให้อาสาสมัครทายผลการแข่งขันได้แม่นยำมากขึ้น ในขณะที่ข้อมูลพื้นฐานอย่าง ประสิทธิภาพโดยรวมของทีมในปีก่อน ๆ กลับช่วยให้อาสาสมัครสามารถทายผลการแพ้ชนะได้แม่นยำมากกว่า
ที่เป็นเช่นนี้เพราะเมื่อเรามีข้อมูลที่ละเอียดมาก ๆ เราก็มักจะมุ่งความสนใจไปยังข้อมูลที่สำคัญ สมเหตุสมผล และง่ายต่อการทำความเข้าใจ ทำให้เรามองข้ามข้อมูลพื้นฐานซึ่งมีความสำคัญมากกว่าไป
การศึกษานี้แสดงให้เห็นถึงสิ่งที่เรียกว่า อคติแบบจำเพาะ (specificity bias) ในการพนันการแข่งขันกีฬา และทีมของ Suk เชื่อว่า อคติแบบจำเพาะนี้ ส่งผลต่อเราในหลาย ๆ สถานการณ์ รวมถึงการตัดสินใจทางธุรกิจอีกด้วย
บางที การเลิกสนใจตรรกะ และเหตุผล แล้วทำตามหัวใจก็ไม่ใช่สิ่งที่เลวร้าย
งานวิจัย The Devil Is in the Specificity: The Negative Effect of Prediction Specificity on Prediction Accuracy ถูกตีพิมพ์ใน Psychological Science DOI: 10.1177/0956797612468760
ที่มา: aps | https://jusci.net/node/3017 | หากต้องเดิมพันอะไรสักอย่าง การรู้ข้อมูลน้อย ๆ อาจจะดีกว่า |
สถานีอวกาศนานาชาติ (Internation Space Station - ISS) มีนักบินอวกาศอยู่ทั้งหมด 6 คน ซึ่งแต่ละคนจะมาจากหนึ่งใน 15 ประเทศบนโลก ลอยอยู่สูง 400 กิโลเมตรจากพื้นโลก และหมุนรอบโลกด้วยความเร็ว 27,743.8 กิโลเมตรต่อชั่วโมง ใช้เวลา 92 นาที 50 วินาทีต่อรอบ มีน้ำหนัก 420 ตัน ประกอบด้วยโมดูลที่มีระบบรักษาความดัน 12 โมดูล และโมดูลที่ไม่มีระบบรักษาความดันอีกมากมาย สะพานเชื่อม และแผงโซล่าร์เซลล์
ที่สำคัญ เราสามารถมองสถานีอวกาศนานาชาติได้ด้วยตาเปล่า เพราะสถานีอวกาศนานาชาติ ถือเป็นหนึ่งในวัตถุที่สว่างที่สุดบนท้องฟ้าในยามค่ำคืน แต่ใช่ว่าเราจะมองเห็นสถานีอวกาศนานาชาติกันได้ทุกคืน ดังนั้นจึงต้องหาผู้ช่วยที่จะมาบอกว่าตอนนี้สถานีอวกาศนานาชาติอยู่ตรงไหน และเมื่อไหร่เราจะมองเห็นมัน ซึ่งทำได้โดย
รับการแจ้งเตือนผ่านอีเมลจากเว็บไซต์ของนาซ่า สำหรับประเทศไทย มีให้เลือกแค่ 3 จังหวัด คือ กรุงเทพฯ เชียงใหม่ และสงขลา ส่วนใครที่อยู่จังหวัดอื่น ก็ประมาณระยะเวลากันเอาเองแล้วกันครับ
แอพพลิเคชั่นของ Android
ISS Detector - บอกวันเวลา ทิศทาง และมีแผนที่ให้ โดยดึงข้อมูลตำแหน่งจาก GPS
ISS ? - แสดงตำแหน่งปัจจุบันของสถานีอวกาศนานาชาติบนแผนที่ และคำนวณว่าภายใน 2 วันนี้จะมองเห็นสถานีอวกาศนานาชาติหรือไม่
NASA - แสดงวันเวลา ระยะเวลาที่มองเห็น รวมถึงทิศทางองศาที่ ISS เคลื่อนผ่าน โดยอ้างอิงจาก 3 จังหวัดข้างต้น
แอพพลิเคชั่นของ iOS (ผมไม่มี iDevices และไม่ได้ติดตั้ง iTunes ใครมีแอพอื่นแนะนำ ช่วยโพสต์บอกกันด้วยก็ดีนะ)
NASA App - แสดงวันเวลา ระยะเวลาที่มองเห็น รวมถึงทิศทางองศาที่ ISS เคลื่อนผ่าน โดยอ้างอิงจาก 3 จังหวัดข้างต้น
เว็บแอพ
ISS Rapid Locator แจ้งตำแหน่งปัจจุบันของสถานีอวกาศนานาชาติบนแผนที่
@twisst - จะแจ้งเตือนเมื่อสถานีอวกาศเคลื่อนผ่านท้องฟ้าที่เราอยู่
เมื่อถึงเวลานั้น ก็ใช้สองตาของเรามองท้องฟ้าทางทิศตะวันตก เราจะมองเห็นดาวที่สว่างมากดวงหนึ่งเคลื่อนผ่านท้องฟ้าจากทิศตะวันตกไปยังทิศตะวันออกอย่างรวดเร็ว นั่นแหละสถานีอวกาศนานาชาติ แต่หากดูผ่านกล้องส่องทางไกลแบบสองตา อาจจะมองเห็นสถานีอวกาศนานาชาติเป็นรูปตัว H เพราะแผงโซลาร์เซลล์ ส่วนการมองผ่านกล้องโทรทัศน์จะลำบากเกินไปสักหน่อย เพราะสถานีอวกาศนานาชาติเคลื่อนที่เร็วมาก
จากข้อมูลที่ผมมี เราจะมองเห็นสถานีอวกาศนานาชาติได้เร็วที่สุด คือ วันที่ 2 มิถุนายน เวลา 20:03 น. นาน 2 นาทีครับ
ที่มา: Phys.org | https://jusci.net/node/3018 | มารอดูสถานีอวกาศนานาชาติกันเถอะ |
ข่าวร้อนในฝั่งหน่วยงานด้านวิทยาศาสตร์ของไทยตอนนี้ คือ การงัดข้อระหว่าง รมว.กระทรวงวิทย์ฯ วรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล กับฝ่ายพนักงานสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)
รายละเอียดดูในเว็บไซต์สำนักข่าวอิศราที่เกาะติดประเด็นนี้ละเอียดครับ
รมว.วิทย์ฯ รับไม่พอใจผลงาน ผอ.สวทช. แย้มอาจไม่ต่ออายุ เตรียมตั้งบอร์ดใหม่สัปดาห์หน้า ชี้ใบปลิวต้านว่อนเกิดจากปมโบนัส 158 ล้านบาท
กำปั้น "สู้เพื่อวิทยาศาสตร์" พรึ่บโลกออนไลน์-คน สวทช.ขู่ตบเท้าพบ "วรวัจน์"
ผอ.สวทช.ออกแถลงป้อง รมว.วิทย์ เล็งหาทุนภายนอกอุดงบวิจัยที่ถูกตัด
เผย สวทช.ยุค “วรวัจน์” ถูกหั่นงบอื้อ กว่าหนึ่งในสี่
ผมไม่มีข้อมูลวงในเรื่องนี้ คงต้องรบกวนคนที่พอรู้ข่าวหรือเกี่ยวข้องอยู่บ้างมาให้ความเห็น แต่ประเด็นของข่าวนี้คือ ในช่วงที่ สวทช. กำลังมีปัญหา ได้มีสไลด์นำเสนอด้านผลงานการพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีของ สวทช. เผยแพร่ออกมาด้วย ผมเห็นว่าสไลด์นี้มีประโยชน์ในฐานะเอกสารแนะนำตัวว่า สวทช. (ซึ่งเป็นหน่วยงานด้านการวิจัยของไทยที่สำคัญ) เป็นใครมาจากไหน มีผลงานอะไรบ้าง เลยเอามาเผยแพร่ต่อบน Jusci ครับ
S&T with NSTDA from National Science and Technology Development Agency (NSTDA) - Thailand
ที่มา - Slideshare NSTDA | https://jusci.net/node/3021 | เอกสารสรุปผลงานด้านการวิจัยของ สวทช. |
งานแข่งขันด้านวิทยาศาสตร์ขนาดใหญ่ประจำปีงานหนึ่งของโลกคือ Intel ISEF ที่เปิดให้นักเรียนชั้นมัธยมส่งโครงการวิจัยของตัวเองเข้าแข่งขันได้ ปีนี้ก็ประกาศรางวัลออกมาแล้ว โดยสามรางวัลหลักได้แก่
Ionut Budisteanu อายุ 19 ปีจากประเทศโรมาเนียออกแบบระบบขับรถอัตโนมัติที่ใช้เรดาร์สามมิติและกล้องถ่ายภาพ ทำให้รถยนต์สามารถวิ่งไปตามถนนได้ด้วยตัวเองภายใต้ต้นทุน 4,000 ดอลลาร์ เขาได้รับรางวัล Gordon E. Moore มูลค่า 75,000 ดอลลาร์
Eesha Khare อายุ 18 ปีจากแคลิฟอร์เนียร์ ประดิษฐ์ตัวเก็บประจุประสิทธิภาพสูง ในขนาดที่พอดีกับแบตเตอรี่โทรศัพท์ทั่วไป ทำให้สามารถชาร์จโทรศัพท์มือถือจนเต็มได้ภายในเวลา 20-30 วินาทีเท่านั้น แนวคิดนี้ยังอาจจะนำไปใช้กับรถไฟฟ้า ที่ต้องการการชาร์จที่รวดเร็วในอนาคต
Henry Wanjune Lin อายุ 17 ปีจากหลุยเซียน่าสร้างระบบจำลองแกเล็กซี่นับพันแกแล็กซี่เพื่อศึกษาคุณสมบัติของสสารมืดและพลังงานมืด
ยังมีโครงการที่ชนะรางวัลในระดับรองๆ อีกจำนวนมาก อินเทลระบุว่าปีนี้รวมเงินรางวัลในงานทั้งหมดกว่า 4 ล้านดอลลาร์
ที่มา - Intel | https://jusci.net/node/3022 | อินเทลประกาศรางวัล ISEF 2013: รถขับด้วยตัวเอง, ตัวเก็บประจุประสิทธิภาพสูง, สสารมืด |
ทารกน้อยนายหนึ่งถูกพบว่ามีอาการที่เรียกว่า Tracheomalacia (TBM - เป็นภาวะที่พบได้น้อยในทารกและเด็ก เป็นความผิดปรกติของหลอดลมที่ยืดหยุ่นผิดปรกติ อ้างอิง - ชมรมโรคระบบหายใจและเวชบำบัดวิกฤตในเด็กแห่งประเทศไทย) โดยมีอาการขั้นรุนแรงจนถึงขั้นหยุดหายใจอยู่บ่อยครั้ง เจ้าหนูน้อยถูกส่งไปรักษาที่โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยรัฐ Ohio โดยที่นั่นเขาถูกรักษาโดยการปลูกถ่ายหลอดลมเทียมที่สร้างขึ้นจากเครื่องพิมพ์สามมิติ
หลอดลมที่ว่านี้ถูกสร้างด้วยวัสดุที่เรียกว่า Polycaprolactone หรือ PCL ซึ่งเป็นพอลิเมอร์ที่สร้างขึ้นจากไขมันจากน้ำนมสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม โดยเจ้าพอลิเมอร์ตัวนี้จะสลายไปเองในร่างกายหลังจากผ่านไป 2-3 ปี ซึ่งในระหว่างนั้นร่างกายจะสร้างเนื้อเยื่อขึ้นมายึดเกาะโครงสร้างที่สร้างจากตัวพอลิเมอร์นี้กลายเป็นหลอดลมอันใหม่
ในปัจจุบันการปลูกถ่ายอวัยวะเทียมที่สร้างจาก PCL นั้นผิดกฎหมายที่สหรัฐอเมริกา แต่ทางมหาลัยได้รับการยกเว้นการทดสอบอวัยวะเทียมนี้จึงทำให้ทารกน้อยได้รับการรักษาครับ
ที่มา: DailyTech | https://jusci.net/node/3023 | ทารกน้อยได้รับการปลูกถ่ายหลอดลมเทียมที่สร้างด้วยเครื่องพิมพ์สามมิติ |
กูเกิลเข้าซื้อกิจการ Makini Power บริษัทผลิตพลังงานลมโดยใช้กังหันติดกับว่าวเพื่อลอยขึ้นไปรับลมในที่สูง 250-600 เมตรเหนือพื้นดิน
เทคโนโลยีของ Makini เป็นการสร้าง "ว่าว" หรือ "เครื่องร่อน" ขนาดใหญ่กว่าตัวคนติดกังหันลม แล้วปล่อยให้ลอยรับลมเพื่อผลิตพลังงานไปเรื่อยๆ โดยระบบของมันอัตโนมัติหมดไม่ต้องมีมนุษย์เข้าช่วย จุดเด่นของมันเหนือกังหันลมทั่วๆ ไปคือรับลมได้สูงกว่า และมีต้นทุนที่ถูกกว่ามากเพราะใช้วัสดุน้อยกว่ากันเยอะ เป้าหมายของ Makini คือสร้าง "ฟาร์มพลังงานลม" ที่ใช้อากาศยานตัวนี้แทนกังหันลมทั้งหมดให้จงได้ ส่วนกูเกิลซื้อไปก็นำไปร่วมโครงการ Google X Lab ที่สร้างนวัตกรรมฉีกกรอบเพื่ออนาคตนั่นเอง
Makini เพิ่งทดสอบการบินครั้งแรกไปเมื่อต้นเดือนนี้ เครื่องทดสอบตามคลิปผลิตพลังงานได้ 30 กิโลวัตต์ และในอนาคตจะขยายไปให้ถึง 600 กิโลวัตต์
ที่มา - sUAS News via Slashdot | https://jusci.net/node/3024 | กูเกิลซื้อ Makini Power บริษัทพลังงาน "ลมจากว่าว" ร่วมทีม Google X |
ดาวเคราะห์น้อย 1998 QE2 เป็นดาวเคราะห์น้อยที่มีพื้นผิวเต็มไปด้วยสารเหนียว ๆ สีดำ ๆ ขนาดประมาณ 2.73 กิโลเมตร ด้วยขนาดเท่านี้ หากมันพุ่งชนโลก โลกจะเจอกับการสูญพันธุ์ครั้งใหญ่อีกครั้ง แต่เป็นที่โชคดีสำหรับมนุษย์ที่มันจะไม่พุ่งชนโลกในคืนนี้ (โลกคงเสียดายไม่น้อย)
ดาวเคราะห์น้อย 1998 QE2 ถูกค้นพบเมื่อ 15 ปีที่แล้ว แต่นักดาราศาตร์ไม่ได้รู้อะไรเกี่ยวกับมันมากนัก รวมทั้งไม่รู้ด้วยซ้ำว่ามันตำแหน่งปัจจุบันมันอยู่ตรงไหน รู้แต่ว่าก่อนหน้านี้มันน่าจะเข้าใกล้ดวงอาทิตย์มากเกินไป เพราะพื้นผิวมันกลายเป็นของเหลว และมันจะเข้าใกล้โลกที่สุดในคืนนี้ เวลา 03:59 น. (รุ่งเช้าของวันที่ 1 มิถุนายน) ตามเวลาประเทศไทย หลังจากนั้นมันจะกลับมาอีกครั้งในปี 2119
แต่ถึงจะบอกว่าใกล้ที่สุด ดาวเคราะห์น้อย 1998 QE2 ก็ยังห่างจากโลกถึง 5.79 ล้านกิโลเมตร หรือประมาณ 15 เท่าของระยะห่างระหว่างดวงจันทร์กับโลก ถ้าจะมองเห็นมัน เราจำเป็นต้องใช้กล้องโทรทัศน์ประสิทธิภาพสูง ๆ ช่วย
ด้วยเหตุนี้นักดาราศาสตร์จึงใช้เสาอากาศ Deep Space Network ใน Goldstone รัฐแคลิฟอร์เนีย และหอดูดาว Arecibo ในเมือง Puerto Rico ตามข้อตกลงของ Jet Propulsion Laboratory เฝ้าสังเกตการณ์ดาวเคราะห์น้อย 1998 QE2 ซึ่งเรดาห์เหล่านี้จะเปลี่ยนจุดแสงเล็ก ๆ ให้เป็นโลกขนาดย่อม ๆ ที่สามารถมองเห็นรายละเอียดของพื้นผิวขนาด 30 ตารางเซนติเมตร สามารถศึกษาการหมุนรอบตัวเอง รวมทั้งข้อมูลอื่น ๆ ได้อีกด้วย
ข้อมูลแรกที่ได้ที่น่าสนใจเกี่ยวกับดาวเคราะห์น้อย 1998 QE2 คือ มันมีดวงจันทร์ หรือถ้าจะพูดให้ถูกคือ มีก้อนหินก้อนเล็ก ๆ โคจรรอบมันอยู่ด้วย ถึงแม้มันจะไม่ปกตินัก แต่ในเอกภพแห่งนี้คงไม่มีอะไรที่เป็นไปไม่ได้
ในเมื่อเรามองไม่เห็นมัน ดังนั้น มารอดูสถานีอวกาศนานาชาติในวันที่ 2 มิถุนายนนี้แทนแล้วกันนะครับ
ที่มา: Phys.org 1, 2, 3 | https://jusci.net/node/3025 | ดาวเคราะห์น้อย 1998 QE2 มีดวงจันทร์ และจะโคจรใกล้โลกที่สุดในคืนนี้ |
องค์การอวกาศของจีนเตรียมพร้อมภารกิจใหม่ "เฉินโจว 10" ที่มีนักบินไปกับจรวดสามคน ในจำนวนนั้นมีนักบินหญิง หวัง ย่าปิง นักบินอวกาศหญิงรายที่สองของจีนขึ้นไปด้วย พร้อมกับนักบินอีกสองคนคือ หนี่ ไฮ่เชียง, และ จาง เซี้ยกวง
ภารกิจเฉินโจว 10 นี้มีระยะเวลานาน 15 วัน เพื่อทดสอบเทคโนโลยีต่างๆ ที่จำเป็นสำหรับการสร้างสถานีอวกาศของจีนเอง การทดสอบที่เปิดเผยได้แก่การเข้าเทียบกับโมดูล เทียนกง-1 ที่โคจรอยู่สองครั้ง
จรวดที่ใช้ในครั้งนี้คือ Longmarch-2F ขั้นตอนการเตรียมการนั้นมีการเติมเชื้อเพลิงพร้อมแล้ว
ที่มา - Xinhua | https://jusci.net/node/3026 | จีนเตรียมส่งนักบินอวกาศหญิงรายที่สอง |
หญิงชาวเนเธอร์แลนด์วัย 55 ปีคนหนึ่งได้เข้าปรึกษาแพทย์เกี่ยวกับอาการประหลาดที่เริ่มเกิดกับร่างกายของเธอเมื่อไม่นานมานี้ ทุกๆ วันเธอจะรู้สึกถึงจุดสุดยอด (orgasm) จากความรู้สึกเสียวสยิวที่พุ่งขึ้นมาจากเท้าข้างซ้ายประมาณ 5-6 ครั้งต่อวัน ทั้งที่เธอไม่ได้นึกคิดถึงการร่วมเพศหรือมีความต้องการทางเพศอะไรเลย เธอเล่าให้แพทย์ฟังว่าจุดสุดยอดที่เกิดจากเท้าซ้ายเหมือนกับการถึงจุดสุดยอดจากร่วมเพศไม่มีผิดเพื้ยน
แพทย์ผู้ทำการรักษา Marcel D. Waldinger ซึ่งเป็นผู้เชี่ยวชาญด้านเวชศาสตร์และประสาทวิทยาแห่ง Utrecht University ก็งงงวยเพราะเป็นอาการที่ไม่เคยเจอมาก่อน เขาจึงจัดทีมศึกษาเคสของผู้ป่วยหญิงรายนี้อย่างจริงจังด้วยเทคนิค magnetic resonance imaging (MRI) และ electromyography (EMG) เพื่อสังเกตความผิดปรกติของเส้นประสาทที่บริเวณเท้าของผู้ป่วยทั้งสองข้าง
ผลตรวจ MRI ไม่พบอาการผิดปรกติใดๆ ที่เส้นประสาทและสมอง แต่ผลตรวจ EMG พบว่ามีการเกี่ยวพันของเส้นประสาทที่แปลกๆ เล็กน้อยตรงเส้นประสาทที่ขาและเส้นประสาทที่ฝ่าเท้าด้านซ้าย เมื่อทีมแพทย์ทดสอบกระตุ้นฝ่าเท้าซ้ายของผู้ป่วยด้วยกระแสไฟฟ้า ก็พบว่ามีกระแสประสาทวิ่งจากฝ่าเท้าไปกระตุ้นเส้นประสาทตรงบริเวณปากช่องคลอด และเมื่อกระตุ้นปากช่องคลอดด้านซ้ายก็พบว่ามีกระแสประสาทวิ่งจากช่องคลอดไปกระตุ้นเท้าด้านซ้ายด้วย
การสืบประวัติผู้ป่วยทำให้ทราบว่า ประมาณสักหนึ่งปีครึ่งก่อนที่จะเกิดอาการ ผู้ป่วยเคยมีติดเชื้อที่ระบบประสาทอย่างรุนแรงจนต้องเข้าห้อง ICU มาก่อน และพอหลังจากรักษาหายไม่นาน ผู้ป่วยก็เริ่มมีความรู้สึกแสบคันๆ จั๊กกะจี้แปลกๆ ที่ฝ่าเท้าด้านซ้าย Marcel Waldinger จึงสันนิษฐานว่าความรู้สึกแสบคันนั้นน่าจะเกิดจากการที่ปลายประสาทรับสัมผัสตรงฝ่าเท้าด้านซ้ายได้รับความเสียหาย และทีนี้เมื่อร่างกายซ่อมแซมเส้นประสาทที่เท้าซ้าย มันก็เกิดความผิดพลาดขึ้น ทำให้เส้นประสาทรับสัมผัสที่ฝ่าเท้าทำงานมั่ว แทนที่จะส่งสัญญาณสัมผัสเข้าเส้นประสาทไขสันหลังแบบปกติ มันดันส่งเป็นสัญญาณระดับเดียวกับสัญญาณของการกระตุ้นที่อวัยวะเพศ ปมประสาทไขสันหลังที่ไม่รู้เรื่องอะไรก็ส่งต่อสัญญาณไปที่สมอง สมองซึ่งก็ไม่รู้เรื่องอีกเช่นกันก็แปลผลไปตามสัญญาณที่ได้รับโดยคิดว่าเป็นสัมผัสที่กระตุ้นอวัยวะเพศ ผลสุดท้ายเลยกลายเป็นการถึงจุดสุดยอดแบบไม่ทันตั้งเนื้อตั้งตัว
Marcel Waldinger ตั้งชื่ออาการถึงจุดสุดยอดจากเท้าว่า "Foot Orgasm Syndrome" โดยมีเคสผู้ป่วยรายนี้ได้รับเกียรติ(?)เป็นคนแรกของอาการ ทั้งนี้ทั้งนั้น Marcel Waldinger เชื่อว่าน่าจะมีผู้ป่วยอาการนี้อีกเป็นจำนวนมากที่รู้สึกอายไม่กล้าเข้าพบแพทย์เพราะเข้าใจว่ามันคือความผิดปกติทางจิตใจ ก่อนหน้านี้ก็เคยมีบันทึกว่าผู้ชายคนหนึ่งมีอาการคล้าย Foot Orgasm Syndrome อยู่เหมือนกัน
ปัจจุบันผู้ป่วยหญิงคนดังกล่าวได้รับการรักษาด้วยการให้ยาชา bupivacaine ร่วมกับการบำบัดด้วยคลื่นวิทยุเพื่อยับยั้งกระแสประสาทที่ไหลจากเท้าเข้าเส้นประสาทไขสันหลัง ซึ่งก็หยุดอาการ Foot Orgasm Syndrome มาได้ประมาณ 8 เดือนแล้ว แต่แพทย์ก็แนะนำว่าหากเกิดอาการขึ้นอีก ก็ต้องเข้ามารับยาชาเพิ่มอีกรอบ
แพทย์ผู้วิจัยรายงานอาการนี้ลงใน Journal of Sexual Medicine DOI: 10.1111/jsm.12217
ที่มา - Live Science | https://jusci.net/node/3030 | [18+] สาวใหญ่วัย 55 เป็นโรคประหลาด ถึงจุดเสียวเมื่อโดนจิ้มเท้า |
ในปัจจุบัน นักวิจัยยังไม่สามารถหาตัวบ่งชี้ทางชีวภาพ (biomarker) เพื่อแยกผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะออกจากคนปกติ ในแบบเดียวกับที่ใช้แยกผู้ป่วยมะเร็งเต้านม และมะเร็งปากมดลูก แต่มีงานวิจัยในช่วงปี 2004 พบว่า สุนัขที่ถูกฝึกมาเป็นอย่างดี สามารถแยกปัสสาวะของผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ออกจากปัสสาวะคนปกติได้ด้วยการดมกลิ่น
ทีมนักวิจัยจากมหาวิทยาลัยลิเวอร์พูล และมหาวิทยาลัย UWE Bristol จึงได้คิดที่จะสร้างเครื่องมือที่ใช้ตรวจจับสารเคมีที่ระเหยออกมาจากปัสสาวะขึ้นมา เนื่องจากว่า การใช้สุนัขในงานด้านสาธารณสุขนั้นไม่เหมาะสมนัก และให้ชื่อว่าเครื่องมือชิ้นนี้ว่า ODOREADER
การทำงานของ ODOREADER เริ่มด้วยการนำขวดตัวอย่างปัสสาวะใส่เข้าไปในเครื่อง แล้วรอประมาณ 30 นาที ผลการตรวจจะถูกนำไปแสดงบนหน้าจอคอมพิวเตอร์ เพื่อให้นักวิทยาศาสตร์วิเคราะห์ผลอีกครั้งหนึ่ง
ทีมนักวิจัยใช้ตัวอย่างปัสสาวะ 98 ตัวอย่างในการพัฒนา ODOREADER และทดสอบกับตัวอย่างปัสสาวะ 24 ตัวอย่างจากผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ และตัวอย่างปัสสาวะอีก 74 ตัวอย่างจากผู้ที่มีความผิดปกติทางระบบทางเดินปัสสาวะ แต่ไม่ได้ป่วยเป็นมะเร็งกระเพาะปัสสาวะ ซึ่ง ODOREADER ก็สามารถรายงานผลได้ถูกต้อง 100% แต่ถึงกระนั้น ก็ยังต้องตรวจสอบความแม่นยำของ ODOREADER อีกมากก่อนจะนำไปใช้จริงในโรงพยาบาลต่าง ๆ
แม้ ODOREADER จะไม่สามารถแยะผู้ป่วยมะเร็งกระเพาะปัสสาวะในระยะเริ่มแรกออกจากคนปกติได้ แต่ ODOREADER ก็ยังช่วยลดการใช้สโคปในการตรวจดูพัฒนาการของเซลล์มะเร็ง ซึ่งช่วยลดค่าใช้จ่ายในการรักษาลงอย่างมาก
ที่มา: MedicalXpress | https://jusci.net/node/3035 | ODOREADER เครื่องมือตรวจหามะเร็งกระเพาะปัสสาวะ |
มนุษย์ไม่ใช่สิ่งมีชีวิตที่เป็นมนุษย์เพียงอย่างเดียว ภายใต้เปลือกนอกที่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าของมนุษย์ ยังมีสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กอีกนับร้อยนับพันตัวที่มองไม่เห็น พวกมันอาจกำลังทำงานโดยที่เราไม่อาจตั้งตัว ก็ เป็น ด้ายยยยย...
ถ้าลองย้อนกลับไปมองความรู้ที่ผมไม่ค่อยจะมีเราได้ร่ำเรียนกันมา ทฤษฎีวิวัฒนาการของ Chales Darwin ได้อธิบายถึงการคัดเลือกโดยธรรมชาติ (Natural Selection) ที่พอสรุปได้ว่า "สิ่งมีชีวิตที่สามารถปรับตัวให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมได้ จะสามารถอยู่รอดและสืบพันธุ์ต่อไปได้ในธรรมชาติ" นั่นแปลว่าอะไร? วิวัฒนาการเกิดจากการแปรผันทางพันธุกรรมของสิ่งมีชีวิตใช่หรือไม่?
ยังมีอีกทฤษฎีหนึ่งที่อยู่ระหว่างการถกเถียงกันในปัจจุบัน และเนื้อหาข่าวที่จะเขียนต่อไปนี้เป็นอีกหนึ่งหลากฐานที่สนับสนุนทฤษฎีนี้: hologenomic theory of evolution ทฤษฎีที่เสนอว่าเราควรคำนึงถึงสิ่งมีชีวิตขนาดเล็กๆ เหล่านี้ นอกเหนือจากการเเปรผันทางพันธุกรรมในนิวเคลียสที่เกิดขึ้นอยู่แล้วในธรรมชาติ (ถ้าตายก่อนสืบพันธุ์ก็ไม่อาจสืบทอดสายพันธุ์ให้คงอยู่ต่อไปได้) ( คำอธิบายเรื่อง Hologenomic จากคุณ Terminus )
ผศ. Seth Bordenstein และคณะได้ทำงานวิจัยชินนี้ด้วยตัวต่อ 3 สายพันธุ์ที่ใกล้เคียงกันในจีนัส Nasonia หรือ Jewel Wasp ( ต่อสาบมรกต ต่อสาบมนีรัตน์ ) ซึ่งมีความหลากหลายทางจุลชีวะจำนวน 96 กลุ่ม นักวิจัยได้ทำการคัดเลือกต่อมาทั้งสิ้น 3 สายพันธุ์ : 2 สายพันธุ์ใกล้ชิด ( N. giraulti และ N. longicornis ซึ่งแยกออกจากบรรพบุรุษร่วม (common ancestor) เมื่อประมาณสี่แสนปีก่อน และมีจุลชีพที่ใกล้เคียงกันอาศัยอยู่) กับอีก 1 สายพันธุ์ห่างๆ ( N. vitripennis แยกออกมาจากสายพันธุ์หลักเมื่อล้านปีก่อน และมีจุลชีพที่ค่อนข้างแตกต่างกันอาศัยอยู่) มาวิเคราะห์ถึงอัตราการตายของต่อ พบว่า สองสายพันธุ์ใกล้ชิดมีอัตราการตายที่ 8% และสายพันธุ์ห่างๆ มีอัตราการตายมากกว่า 90% ซึ่งแสดงถึงความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตกับจุลชีพที่อาศัยอยู่ ( คำอธิบายเพิ่มเติมจากคุณ Terminus )
The researchers showed that the incompatibilities that were killing the hybrids had a microbial basis by raising the wasps in a microbe-free environment. They were surprised to find that the germ-free hybrids survived just as well as purebred larvae. But when they gave the germ-free hybrids gut microbes from regular hybrids, their survival rate plummeted.
Source: Science Daily
DOI: 10.1126/science.1240659
ขอบคุณคุณ Terminus, คุณ Nozomi , คุณ hisoft ที่ร่วมตรวจสอบและแก้ไขบทความด้วยครับ | https://jusci.net/node/3040 | จุลชีพมีเอี่ยวแบ่งแยกวิวัฒนาการของตัวต่อ |
ในหมู่ "บริษัทอวกาศเอกชน" ที่เกิดขึ้นใหม่ในรอบ 10 กว่าปีให้หลัง มีหลายบริษัทที่เจ้าของร่ำรวยมาจากธุรกิจไอทีแล้วหันมาทำธุรกิจด้านอวกาศ ตัวอย่างบริษัทกลุ่มนี้ได้แก่ SpaceX ของ Elon Musk (eBay), Blue Origin ของ Jeff Bezos (Amazon) และตัวอย่างในข่าวนี้คือ Armadillo Aerospace ของ John Carmack ผู้สร้างเกม Doom/Quake
อย่างไรก็ตาม Armadillo กลับมีปัญหาทั้งในเชิงเทคนิค (ส่งจรวดล้มเหลว+งานวิจัยไม่คืบหน้า) และธุรกิจ (ค่าใช้จ่ายบานปลาย) จนอยู่ในระดับที่ Carmack ไม่สามารถอัดเงินส่วนตัวปีละหลายล้านดอลลาร์ลงไปได้อีก ซึ่งตัว Carmack เองก็ยอมรับว่า Armadillo คงต้องหยุดพักกิจการในโหมด hibernate ไปก่อน จนกว่าจะหานักลงทุนรายอื่นๆ ได้
Carmack ยังบอกว่าตัวเขาเองไม่ได้เข้าไปยุ่งกับ Armadillo อย่างใกล้ชิดมากนักในช่วงปีหลังๆ เพราะต้องการทุ่มเวลาให้กับธุรกิจเกมมากกว่า ดังนั้นเมื่อบริษัทเริ่มมีปัญหา เขาจึงไม่อยากลงไปก้าวก่ายกับทีมมากนัก เพราะถือว่าปล่อยให้ทีมงานบริหารกันเป็นหลักแล้ว แต่เมื่อไม่ไหวจริงๆ ก็คงต้องหยุดพักกิจการในที่สุด
เขายังพูดถึงความสำเร็จของ SpaceX ที่กลับกันกับ Armadillo ว่าเป็นเพราะ Elon Musk จริงจังกับธุรกิจอวกาศมาก ถึงขนาดตั้งเป้าหมายว่าตัวเขาเองนั้น "จะไปตายบนดาวอังคาร"
ที่มา - The Register | https://jusci.net/node/3043 | John Carmack ยอมแพ้ หยุดพักกิจการ Armadillo Aerospace |
สาร Aristolochic acid เป็นสารที่พบได้ทั่วไปในพืชสกุล Aristolochia เกือบทุกชนิดหรือที่คนไทยรู้จักกันในชื่อ "ไคร้เครือ" แม้ว่าตำราแพทย์แผนโบราณของจีนและไทยจะเชื่อกันว่าไคร้เครือหรือพืชในสกุล Aristolochia เป็นสมุนไพรมีฤทธิ์รักษาไขข้ออักเสบ, ลดอาการปวดจากประจำเดือนและการคลอด แต่วงการวิทยาศาสตร์สมัยใหม่กลับมีรายงานความเป็นพิษของ Aristolochic acid มาตั้งแต่ปี ค.ศ. 1993 แล้ว เช่น พบว่าหญิงชาวเบลเยียมหลายคนที่บริโภคยาสมุนไพรที่มีส่วนผสมของไคร้เครือเข้าไปเกิดอาการไตวาย, และเหตุการณ์ในเขตชนบทลุ่มแม่น้ำดานูบที่ชาวบ้านเผลอรับประทานเมล็ดไคร้เครือแล้วพากันเกิดอาการไตอักเสบและไตวาย เป็นต้น
ในปี 2001 องค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกาก็ประกาศเตือนให้ประชาชนหยุดบริโภคสมุนไพรหรือสารผสมอาหารที่ทำจากไคร้เครือและพืชตัวอื่นๆ ในสกุล Aristolochia ถัดมาอีกไม่นานในปี 2003 หลายประเทศรวมถึงประเทศไต้หวันที่ไคร้เครือเป็นสมุนไพรยอดนิยมก็ประกาศสั่งห้ามเช่นกัน นอกจากนี้ International Agency for Research on Cancer ก็จัดให้พืชที่มี Aristolochic acid อยู่ในประเภท "สารก่อมะเร็งกลุ่ม 1" (เป็นกลุ่มที่มีหลักฐานเพียงพอที่จะยืนยันว่าทำให้เกิดมะเร็งในมนุษย์) เพราะมีงานวิจัยหลายชิ้นที่ระบุว่า Aristolochic acid มีความสัมพันธ์กับมะเร็งทางเดินปัสสาวะส่วนบน อย่างไรก็ตามประชาชนทั่วไปก็ยังสามารถสั่งซื้อสมุนไพรไคร้เครือมาบริโภคได้โดยไม่ยากเย็นอะไร โดยเฉพาะประเทศแถบเอเซียที่กำลังหันกลับมานิยมแพทย์แผนโบราณ
ก่อนหน้านี้นักวิทยาศาสตร์เองก็ยังไม่ทราบแน่ชัดว่า Aristolochic acid มีผลต่อการเกิดมะเร็งอย่างไรบ้าง หลักฐานมีเพียงว่า Aristolochic acid เข้าไปทำให้เกิดการกลายพันธุ์ในยีน p53 ซึ่งเป็นยีนที่ควบคุมหน้าที่สำคัญในวัฏจักรการแบ่งเซลล์ (การกลายพันธุ์ที่ยีน p53 มีความสัมพันธ์กับมะเร็งหลายชนิด) แต่นักวิทยาศาสตร์หลายคนก็ไม่เชื่อว่า Aristolochic acid สร้างความเสียหายให้ยีนแค่ตัวเดียว
ทีมวิจัยที่นำโดย Bin Tean Teh จากมหาวิทยาลัยแห่งชาติของสิงคโปร์ได้สกัดเอา DNA จากเซลล์มะเร็งทางเดินปัสสาวะของผู้ป่วยที่มีประวัติบริโภคไคร้เครือมาวิเคราะห์จีโนมเทียบกับจีโนมของเซลล์ปกติ ผลที่ออกมาทำให้พวกเขาถึงกับตะลึง เพราะ Aristolochic acid มีความร้ายกาจมากกว่าที่พวกเขาคาดไว้แต่แรกเสียอีก มันไม่ได้มีแค่ p53 ที่กลายพันธุ์ พวกเขาพบการกลายพันธุ์ในยีนกว่า 1,500 ยีน! คิดโดยเฉลี่ยเซลล์มะเร็งที่เกิดจาก Aristolochic acid มีการกลายพันธุ์ 150 จุดใน 1 ล้านคู่เบส ตัวเลขนี้ถือว่าสูงมากเมื่อเทียบกับเซลล์มะเร็งอื่น เช่น เซลล์มะเร็งปอดของผู้ที่สูบบุหรี่อย่างหนักมีการกลายพันธุ์เฉลี่ย 8 จุดใน 1 ล้านคู่เบส, เซลล์มะเร็งผิวหนังที่เกิดจากการรับรังสีอัลตราไวโอเลตมีการกลายพันธุ์ 110 จุดใน 1 ล้านคู่เบส เป็นต้น
ทีมของ Bin Tean Teh ยังทดสอบให้ Aristolochic acid แก่เซลล์ปกติในจานเพาะเชื้อ พวกเขาพบว่า Aristolochic acid มักเหนี่ยวนำการกลายพันธุ์ที่เปลี่ยนจากเบส Adenine (A) ไปเป็น Thymine (T) หรือเปลี่ยนจาก T เป็น A และส่วนมากจะเกิดในตำแหน่งที่มีลำดับเบสค่อนข้างเฉพาะตัว เปรียบได้เป็น "ลายเซ็น" ของ Aristolochic acid เลยทีเดียว
นอกจากนี้นักวิจัยคนหนึ่งในทีมของ Bin Tean Teh ที่มีประสบการณ์กับมะเร็งชนิดอื่นก็สังเกตเห็นอีกด้วยว่าเขาเคยพบลักษณะรูปแบบการกลายพันธุ์ดังกล่าวในมะเร็งตับมาก่อน นักวิทยาศาสตร์สงสัยว่านี่อาจจะเป็นคำใบ้ที่บอกให้เรารู้ว่า Aristolochic acid ไม่ได้ก่อมะเร็งแค่ในทางเดินปัสสาวะเท่านั้น
งานวิจัยของทีม Bin Tean Teh ตีพิมพ์ใน Science Translational Medicine DOI: 10.1126/scitranslmed.3006086
นอกจากผลวิจัยของทีม Bin Tean Teh วารสาร Science Translational Medicine ฉบับเดียวกันก็ยังมีงานวิจัยอีกอันที่ยืนยันพิษภัยของไคร้เครือ ทีมวิจัยอีกทีมจากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์และมหาวิทยาลัยแห่งชาติของไต้หวันก็ได้ทำการศึกษาวิเคราะห์จีโนมของเซลล์มะเร็งจากผู้ป่วยมะเร็งทางเดินปัสสาวะส่วนบนชาวไต้หวันที่มีประวัติการบริโภคไคร้เครือจำนวน 19 คน ผลปรากฏว่าก็เจอลักษณะกลายพันธุ์ที่เป็น "ลายเซ็น" เหมือนกับทีมวิจัยของ Bin Tean Teh นอกจากนี้พวกเขายังพบว่าตำแหน่งที่มีลำดับเบสตรงกับลายเซ็นของ Aristolochic acid หลายจุดคร่อมอยู่ในตำแหน่งที่เรียกว่า splice site อันหมายถึงตำแหน่งที่เป็นเครื่องหมายให้ตัด-ต่อ-เชื่อม mRNA (splicing) ก่อนจะนำไปแปลรหัสสร้างโปรตีน หากกระบวนการตัด-ต่อ-เชื่อม mRNA ตรงนี้ผิดพลาด โปรตีนที่ออกมาก็จะผิดตามไปด้วย ซึ่งนี่ก็เป็นหลักฐานที่ระบุความสัมพันธ์ของ Aristolochic acid กับมะเร็งอีกอันหนึ่ง เนื่องจากเซลล์มะเร็งของผู้ป่วยที่ได้รับ Aristolochic acid แสดงปรากฏความผิดปกติของโปรตีนอันเกิดจากการตัด-ต่อ-เชื่อมที่ผิดพลาดเต็มไปหมดตามที่คาดไว้
งานวิจัยของทีมจากมหาวิทยาลัยจอห์นฮอปกินส์และมหาวิทยาลัยแห่งชาติของไต้หวันตีพิมพ์ใน Science Translational Medicine DOI: 10.1126/scitranslmed.3006200
ที่มา - ScienceNOW
สำหรับในประเทศไทย กรมพัฒนาการแพทย์แผนและการแพทย์ทางเลือกได้ตัดไคร้เครือออกจากตำรับยาแพทย์แผนไทยตั้งแต่เมื่อต้นปี 2013 ที่ผ่านมาแล้ว [อ้างอิง: ASTVผู้จัดการออนไลน์] | https://jusci.net/node/3047 | ผลวิจัยตอกย้ำชัด "ไคร้เครือ" เป็นสมุนไพรอันตรายก่อมะเร็ง ทำยีนกลายพันธุ์มากกว่าบุหรี่นับสิบเท่า |
สิ่งมีชีวิตแต่ละชนิดสามารถดำรงอยู่ได้ในสิ่งแวดล้อมที่แตกต่างกัน ด้วยเหตุนี้สิ่งมีชีวิตหลายชนิดจึงได้พัฒนาระบบตรวจวัดอุณหภูมิหลากหลายรูปแบบเพื่อความอยู่รอดและสืบพันธุ์ต่อไป
คณะวิจัยจากมหาวิทยาลัย Brandeis ได้ค้นพบตัวรับอุณภูมิ (Receptor) ที่ไม่เคยค้นพบมาก่อนในแมลงหวี่ (Friut fly) โดยตัวรับดังกล่าวจัดเป็นสารประกอบประเภทโปรตีนมีชื่อเรียกว่า Gr28b โดยจัดเป็นประเภทหนึ่งของต่อมรับรส มีหน้าที่หลักในการตอบสนองต่ออุณหภูมิที่เกินขีดจำกัดในการดำรงชีวิต และสามารถพบต่อมดังกล่าวนี้ในแมลงพาหะทั่วไป (เช่น ยุง) อีกด้วย
การค้นพบนี้จึงช่วยให้นักวิทยาศาสตร์สามารถศึกษาพฤติกรรมของแมลงพาหะ และป้องกันโรคระบาดได้ดีมากขึ้น เนื่องจากแมลงที่กัดได้ (เช่น ยุง) มักจะกัดในบริเวณที่มีเลือดมาก (ความร้อนบริเวณนั้นก็มากด้วย) การศึกษาในแขนงนี้ต่อไปจึงสามารถช่วยควบคุมได้ไปอีกแบบครับ
ที่มา: Science Daily | https://jusci.net/node/3050 | อุณหภูมินี้อร่อย.. นักวิทยาศาสตร์ค้นพบต่อมรับรสอุณหภูมิในแมลง |
ไวรัส human papillomavirus (HPV) เท่าที่พบมีอยู่ด้วยกัน 120 กว่าสายพันธุ์ ไวรัส HPV หลายสายพันธุ์มีความเกี่ยวข้องกับมะเร็งหลายตัว เช่น มะเร็งปากมดลูก, มะเร็งลำคอ เป็นต้น วัคซีน Gardasil (หรือที่รู้จักในอีกชื่อว่า Silgard) ที่พัฒนาโดยบริษัท Merck & Co. เป็นวัคซีนที่มีคุณสมบัติต้านไวรัส HPV ได้ถึง 4 สายพันธุ์ ได้แก่ สายพันธุ์ 6, 11, 16 และ 18 (70% ของมะเร็งตรงบริเวณอวัยวะเพศที่เกิดจากไวรัส HPV มาจากเชื้อสายพันธุ์ 16 กับ 18, ส่วน HPV สายพันธุ์ 6 และ 11 ก็เกี่ยวข้องใน 90% ของเคสผู้ป่วยหูดหงอนไก่) วัคซีน Gardasil ได้รับการอนุมัติจากองค์การอาหารและยาของสหรัฐอเมริกา (FDA) เมื่อปี ค.ศ. 2006
ภาพจาก Wikimedia Commons
ไม่มีใครรู้ผลข้างเคียงของ Gardasil ต่อระบบสืบพันธุ์ของมนุษย์ในระยะยาวมาก่อนจนกระทั่ง นพ. Deirdre Little เจอกรณีผิดปกติของผู้ป่วยวัยรุ่นสาวชาวออสเตรเลียอายุ 16 ปีคนหนึ่ง ผู้ป่วยสาวรายนี้มีประจำเดือนผิดปกติมาตั้งแต่ต้นปี ค.ศ. 2009 ประจำเดือนของเธอมาน้อยลงและขาดช่วงห่างขึ้นเรื่อยๆ และพอขึ้นปี 2011 ประจำเดือนของเธอก็หายไปเลย ผลจากการตรวจระดับฮอร์โมนพบว่ารังไข่ของเธอสูญเสียการทำงาน หรือเป็นภาวะที่เรียกว่า "Premature Ovarian Failure" (รังไข่สูญเสียการทำงานก่อนวัยหมดประจำเดือน) ซึ่งเป็นอาการที่พบได้น้อยมากในเด็กหญิงวัยรุ่น แพทย์ได้ตรวจรังไข่อย่างละเอียดและพบว่าไข่ของเธอฝ่อตายหมดทุกใบ นั่นแปลว่าเธอเป็นหมันอย่างถาวร หมดโอกาสมีบุตรของตัวเองไปตลอดชีวิต
ข้อมูลที่ได้จากการสืบประวัติผู้ป่วย เธอเป็นหญิงสาววัยรุ่นปกติทั่วไปที่มีร่างกายแข็งแรงดี, ไม่มีญาติฝั่งใดเป็น Premature Ovarian Failure, ไม่พบปัจจัยอื่นใดนอกจากการที่เธอได้รับฉีดวัคซีน Gardasil เมื่อปลายปี ค.ศ. 2008 ฉะนั้น นพ. Deirdre Little จึงสรุปว่าวัคซีน Gardasil น่าจะเป็นสาเหตุตัวหลักของสิ่งที่เกิดขึ้นกับวัยรุ่นชาวออสเตรเลียคนนี้
นพ. Deirdre Little ยังแสดงความกังวลต่อไปอีกด้วยว่าอาจจะมีผู้ที่ได้รับผลข้างเคียงจากวัคซีน Gardasil โดยไม่รู้ตัวอีกเป็นจำนวนมาก นับตั้งแต่ที่วัคซีนตัวนี้ได้รับอนุมัติบวกกับการล็อบบี้จากบริษัทยา โรงเรียนและโรงพยาบาลหลายแห่งก็ฉีดวัคซีนให้กับนักเรียนหญิงวัย 11-12 ปีจำนวนไม่น่าจะต่ำกว่า 10 ล้านคนทั่วโลก ตามปกติเมื่อแพทย์เจอเด็กหญิงที่มีปัญหาประจำเดือนมาน้อยหรือขาดช่วง แพทย์ก็จะแก้อาการเฉพาะหน้าด้วยการให้ยาคุมกำเนิดเพื่อรักษาความผิดปกติของฮอร์โมน ดังนั้นหากแม้ Gardasil มีผลข้างเคียงรุนแรงต่ออวัยวะในระบบสืบพันธุ์เพศหญิงจริงแล้ว ผู้ป่วยก็จะไม่มีทางรู้ตัวเลยว่ารังไข่ทำงานผิดปกติมากขนาดไหน แต่ในกรณีของเด็ก 16 ปีชาวออสเตรเลียคนนี้ เธอปฏิเสธไม่ยอมกินยาคุมกำเนิดเพื่อรักษาอาการประจำเดือนมาผิดปกติตั้งแต่ต้น อาการเลยแสดงออกมาอย่างชัดเจน แพทย์จึงได้ตรวจอย่างละเอียดและพบอาการผิดปกติของรังไข่
วัคซีน Gardasil ได้ถูกวิพากษ์วิจารณ์จากแพทย์และผู้ปกครองมานานแล้ว แต่หน่วยงานที่เกี่ยวข้องและบริษัทยายืนยันว่ามันมีผลข้างเคียงเพียงเล็กน้อย ไม่มีอันตรายรุนแรงใดๆ นี่เป็นครั้งแรกที่มีการรายงานถึงผลข้างเคียงที่รุนแรงระดับทำให้คนเป็นหมันถาวร ซึ่งก็จำเป็นต้องศึกษาและหาหลักฐานยืนยันเพิ่มเติมต่อไป เพราะว่าผู้ป่วยรายเดียวก็๋ยังไม่ใช่หลักฐานที่แน่นหนาเพียงพอเท่าไรนัก
การค้นพบนี้ตีพิมพ์ใน BMJ Case Reports doi:10.1136/bcr-2012-006879
ที่มา - Population Research Institute, Medical Daily | https://jusci.net/node/3051 | วัยรุ่นสาวออสเตรเลียเป็นหมันถาวรหลังจากฉีดวัคซีน HPV |
Tel Aviv เมืองใหญ่อันดับสองของประเทศอิสราเอลเตรียมนำระบบ SkyTran ที่ถูกพัฒนาโดยศูนย์วิจัยเอเมส (Ames) ของ NASA ร่วมกับบริษัท SkyTran เพื่อใช้ช่วยแก้ปัญหาการจราจรอันติดขัดของเมือง
ระบบ SkyTran ประกอบไปด้วยส่วนรางแม่เหล็กกับส่วนยานพาหนะขนาดสองที่นั่งซึ่งมีรูปคล้ายก้อนในฝักถั่ว ซึ่งตัวยานจะถูกยกโดยรางที่อยู่ด้านบนโดยพลังของแม่เหล็ก เป็นหลักการเดียวกับรถไฟพลังแม่เหล็กที่มีใช้จริงอยู่ในหลายประเทศ ทั้งนี้ในการขับเคลื่อนจะเกิดเสียงน้อยมากและเมื่อต้องการจะจอดให้ผู้โดยสารขึ้นหรือลงก็จะใช้รางคู่ขนานเพื่อไม่ให้การสัญจรต้องหยุดชะงัก ความเร็วสูงสุดทางทฏษฎีของระบบดังกล่าวอยู่ที่ 150 ไมล์/ชั่วโมง หรือประมาณ 240 กิโลเมตร/ชั่วโมง
CEO ของ SkyTran Jerry Sanders บอกว่าในขณะนี้ยังอยู่ในขั้นตอนการระดมทุนจำนวน 50 ล้านดอลลาร์สหรัฐฯ เพื่อสร้างเส้นทางยาว 4 ไมล์เพื่อเชื่อมต่อระหว่างมหาวิทยาลัย Tel Aviv กับสวน Atidim และเขตศูนย์การค้าทางตอนเหนือของเมือง โดยหากไม่ติดปัญหาด้านเงินหรือการเมือง การดำเนินการก่อสร้างสามารถทำได้เสร็จภายใน 18 เดือน
ระบบดังกล่าวจะให้บริการโดยเอกชนและจะสนนราคาที่แพงกว่าราคาค่าบริการของรถโดยสารสาธารณะหรือรถเมล์ แต่จะถูกกว่าราคาค่าบริการของรถแท็กซี่
มีรายงานเพิ่มเติมว่า เมือง Netanya ในอิสราเอล เมือง Stavanger ในนอร์เวย์ และอีกสองเมืองของรัฐทางตอนใต้ของอินเดียก็กำลงสนใจการนำระบบดังกล่าวไปใช้เช่นกัน
ที่มา - Bloomberg Businessweek ผ่าน The Verge | https://jusci.net/node/3054 | เมือง Tel Aviv ในอิสราเอลเตรียมนำระบบขนส่งส่วนบุคคลพลังแม่เหล็กมาใช้จริง |
NASA ทำคลิปวิดีโอรวบรวมสถิติภูมิอากาศ (ในที่นี้คือ climate นะครับไม่ใช่ weather) ตั้งแต่ปี 1880 จนถึงปี 2011 (130 ปี) ว่าเปลี่ยนแปลงไปแค่ไหน มาสรุปเป็นคลิปสั้นๆ ให้ดูภายใน 30 วินาที
ในภาพรวมแล้ว อุณหภูมิเฉลี่ยของโลกเพิ่มขึ้น 1 องศาเซลเซียส ในรอบ 130 ปีที่ผ่านมา และปีที่อุณหภูมิอบอุ่นที่สุดก็อยู่ในช่วงหลังๆ นี้เองครับ
ที่มา - NASA via Fast Company | https://jusci.net/node/3057 | ภูมิอากาศโลก 180 ปี สรุปรวมภายในคลิป 30 วินาที |
หมาจิ้งจอกแดง (Red fox, Vulpes vulpes) และแมว (ในที่นี้หมายถึง Feral cat = แมวเลี้ยงที่หวนกลับไปใช้วิถีชีวิตแบบสัตว์ป่า) เป็นสัตว์ต่างถิ่นที่ถูกนำเข้ามาในทวีปออสเตรเลียโดยชาวยุโรปอพยพเมื่อราวกลางคริสตศตวรรษที่ 19 ต่อมาพวกมันก็หลุดเข้าสู่ธรรมชาติและขยายพันธุ์รุกรานไปเกือบทั่วทั้งทวีปออสเตรเลียรวมถึงเกาะที่อยู่ใกล้เคียงด้วย สัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมกลุ่ม Marsupial ท้องถิ่นของทวีปออสเตรเลียหลายชนิดถูกหมาจิ้งจอกและแมวล่าจนสูญพันธุ์ และสัตว์นักล่าท้องถิ่นที่โดนแย่งอาหารก็สูญพันธุ์ตามไปอีกหลายชนิด นักอนุรักษ์ธรรมชาติและรัฐบาลออสเตรเลียจึงแปะป้ายให้หมาจิ้งจอกและแมวเป็นตัววายร้าย และผลักดันหลายมาตรการออกมาควบคุมประชากร เช่น ทำรั้วกักกันบริเวณ, ยิงทิ้ง, วางยา เป็นต้น
ศพหมาจิ้งจอกที่ถูกฆ่าแขวนเรียงรายตามแนวรั้ว; ภาพจาก Wikimedia Commons
Emily Hanna แห่ง Australian National University ต้องการทราบว่านักล่าต่างถิ่นสองตัวนี้ทำร้ายสัตว์พื้นเมืองของออสเตรเลียไปมากขนาดไหน เธอจึงได้ทำวิจัยภายใต้การดูแลของอาจารย์ที่ปรึกษา Marcel Cardillo โดยรวบรวมข้อมูลประชากรสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมบนตามเกาะของออสเตรเลียกว่า 323 เกาะตั้งแต่ช่วงต้นคริสตศตวรรษที่ 19 จนถึงปัจจุบัน รวมทั้งหมดได้ออกมาเป็นฐานข้อมูลของสัตว์ที่ยังอยู่และสูญพันธุ์ไปแล้ว 934 สปีชีส์
หลังจากที่ Emily Hanna เอาข้อมูลของเกาะต่างๆ มาวิเคราะห์เทียบกันทางสถิติ เธอได้พบผลลัพธ์ที่แม้แต่ตัวเธอเองก็ยากที่จะทำใจเชื่อ เพราะเมื่อตัดตัวแปรสัตว์ผู้ล่าอื่นๆ ออกไปให้หมด อัตราการสูญพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมท้องถิ่นขนาดเล็ก (น้ำหนักตัวน้อยกว่า 2.7 กก.) บนเกาะที่มีแมวมากกว่าอัตราการสูญพันธุ์บนเกาะที่ไม่มีแมวเพียงเล็กน้อยเท่านั้น มิหนำซ้ำในบางกรณีเกาะที่มีหมาจิ้งจอกกับหมาดิงโก้ (สุนัขป่าที่กึ่งๆ เป็นสัตว์ท้องถิ่นของออสเตรเลีย) มีอัตราการสูญพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมขนาดเล็กน้อยกว่าเกาะที่ไม่มีหมาด้วยซ้ำไป
เธอพบว่าตัวแปรที่ส่งผลต่ออัตราการสูญพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมท้องถิ่นขนาดเล็กอย่างชัดเจนที่สุด คือ หนู (Black rat, Rattus rattus) ซึ่งมาถึงทวีปออสเตรเลียเป็นครั้งแรกในปลายคริสตศตวรรษที่ 18 และคนนำเข้าก็ไม่ใช่ใครอื่น มันมาพร้อมกับเรือของชาวยุโรปนั่นแหละ (แต่เป็นการนำเข้าอย่างไม่ตั้งใจ) ผลทางสถิติแสดงให้เห็นว่า เกาะที่มีแต่หนู ไม่มีแมว,หมาจิ้งจอก,หมาดิงโก้ มีอัตราการสูญพันธุ์ของสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมท้องถิ่น 15-30% ส่วนเกาะที่มีหนู และมีแมว,หมาจิ้งจอก,หรือหมาดิงโก้ร่วมด้วย มีอัตราการสูญพันธุ์ลดลงเหลือแค่ 10% ซึ่งมากกว่าเกาะที่ไม่มีนักล่าต่างถิ่นเลยแค่นิดเดียว
คำอธิบายที่น่าจะสอดคล้องกับผลวิจัยที่ออกมาที่สุดคงจะเป็นทฤษฎีที่เรียกว่า "Mesopredator suppression theory" นั่นคือ แมว, หมาจิ้งจอก, และหมาดิงโก้เป็นนักล่าที่ช่วยล่าหนู ประชากรหนูจึงแพร่จำนวนได้ไม่เยอะเพราะมีนักล่าที่อยู่ด้านบนของห่วงโซ่อาหารกดไว้ ส่วนในกรณีที่ไม่มีนักล่าด้านบนของห่วงโซ่อาหารคอยควบคุมประชากร หนูขยายพันธุ์อย่างเต็มที่ตามความเอื้ออำนวยของทรัพยากรแวดล้อม ทำให้สัตว์ท้องถิ่นโดนเบียดเบียนคุกคาม ไม่ว่าจะเป็นด้วยการแก่งแย่งแข่งขันระหว่างหนูกับสัตว์ท้องถิ่น หรือ การที่หนูจอมตะกละจับลูกสัตว์หรือสัตว์ท้องถิ่นตัวเล็กๆ กินโดยตรง
งานวิจัยนี้เป็นประโยชน์ต่อการวางแผนนโยบายอนุรักษ์พันธุ์สัตว์ท้องถิ่นของออสเตรเลียอย่างยิ่ง ที่ผ่านมาหนูมักถูกมองว่าควรโดนกำจัดในแง่ที่เป็นตัวทำลายพืชผลหรือตัวรบกวนมากกว่า แต่แทบจะอยู่นอกเรด้าร์ของแผนนโยบายการอนุรักษ์เลย เพราะเราจ้องไปที่การควบคุมสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนมนักล่าที่อยู่ตรงยอดสูงสุดของห่วงโซ่อาหาร เช่น แมว, หมาจิ้งจอก, หมาดิงโก้ และก็ลืมนึกไปว่านักล่าพวกนี้ก็มีประโยชน์ช่วยควบคุมจอมวายร้ายตัวจริงอย่างหนู ถ้าเรากำจัดแมวหรือหมาจิ้งจอกทิ้งไปจนหมด หนูอาจจะอาละวาดและให้ผลลัพธ์ที่แย่หนักกว่าเดิมเสียอีก
งานวิจัยนี้ตีพิมพ์ใน Global Ecology and Biogeography DOI: 10.1111/geb.12103
ที่มา - ScienceNOW | https://jusci.net/node/3064 | งานวิจัยในออสเตรเลียชี้หมาจิ้งจอกและแมวเป็นแค่แพะรับบาป? ผู้ร้ายตัวจริงคือหนู |
วลีฮิตที่ว่า "โง่ จน เจ็บ" อาจจะเป็นความคิดที่ไม่ถูกต้องสักเท่าไร แม้ว่านักวิทยาศาสตร์จะสังเกตเห็นความสัมพันธ์ระหว่างสถานะทางการเงินกับประสิทธิภาพด้านอื่นๆ ในการใช้ชีวิต เช่น คนจนมีแนวโน้มตัดสินใจช้าและผิดพลาดมากกว่าคนรวย, คนจนมักมีปัญหาในการจดจ่อกับงานและการรักษาเวลา เป็นต้น แต่เราก็ไม่แน่ใจนักว่า "ความโง่" กับ "ความจน" อะไรมาก่อน-มาหลัง อะไรเป็นเหตุ อะไรเป็นผล ล่าสุดทีมนักวิทยาศาสตร์จาก University of Warwick, Harvard University, Princeton University, และ University of British Columbia ได้เสนอหลักฐานสนับสนุนว่าความจนเป็นสาเหตุที่ทำให้คนใช้ความคิดได้แย่ลง...
... หรือจะให้ถูกก็ต้องเปลี่ยนเป็นว่า "จน โง่ เจ็บ" ไม่ใช่ "โง่ จน เจ็บ"
ในการทดลองแรก นักวิจัยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นลูกค้าที่มาจับจ่ายซื้อของจำนวนราว 400 คน กลุ่มตัวอย่างทั้งหมดจัดเป็นกลุ่มที่มีสถานะการเงินปานกลางค่อนไปทางต่ำ มีรายได้ต่อปี 20,000-70,000 เหรียญสหรัฐฯ ในชั้นแรกนักวิจัยเอาแบบทดสอบวัด IQ ให้กลุ่มตัวอย่างแต่ละคนทำก่อนเลย จากนั้น นักวิจัยจะบรรยานนำเสนอสถานการณ์สมมติที่กลุ่มตัวอย่างจะต้องตัดสินใจต่อเหตุการณ์เสียเงินเสียทองระดับ "เสียมาก" หรือ "เสียน้อย" เช่น เสียค่าซ่อมรถ 150 เหรียญสหรัฐฯ หรือ 1,500 เหรียญสหรัฐฯ เป็นต้น ระหว่างที่กลุ่มตัวอย่างกำลังตัดสินใจ นักวิจัยก็จะให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบวัดระดับ IQ อีกอันไปด้วย ผลปรากฏว่าขณะที่เจอกับสถานการณ์เสียเงินสมมติ กลุ่มตัวอย่างทำแบบทดสอบ IQ ได้คะแนนลดลง โดยเฉพาะในกรณีของกลุ่มตัวอย่างที่มีรายได้ต่ำและเจอเข้ากับสถานการณ์ "เสียมาก" ผลการทดลองแสดงให้เห็นว่าคะแนน IQ ของกลุ่มนี้ลดลงไปถึง 13 คะแนน เทียบเท่ากับการอดนอนหนึ่งคืนเต็มๆ เลยทีเดียว
และในอีกการทดลอง นักวิจัยใช้กลุ่มตัวอย่างเป็นชาวไร่อ้อยในอินเดียจำนวน 464 คน นักวิจัยเอาแบบทดสอบ IQ และแบบทดสอบประสิทธิภาพความคิดต่างๆ ไปให้ชาวไร่ทำ ครั้งหนึ่งทำก่อนการเก็บเกี่ยว อีกครั้งทำหลังเก็บเกี่ยว เนื่องจากแหล่งที่มาเกือบสองในสามของชาวไร่อ้อยได้มาจากการขายอ้อยซึ่งเก็บเกี่ยวกันปีละครั้งเท่านั้น ดังนั้นสถานะทางการเงินของชาวไร่อ้อยในช่วงเวลาก่อนเก็บเกี่ยวกับช่วงหลังเก็บเกี่ยวจึงแตกต่างกันอย่างมาก ช่วงหลังการเก็บเกี่ยวใหม่ๆ เป็นช่วงที่ชาวไร่มีเงินเยอะที่สุดในรอบปี ผลการทดลองที่ได้ปรากฏว่าคะแนน IQ หลังการเก็บเกี่ยวสูงกว่าคะแนน IQ ที่ทำได้ก่อนการเก็บเกี่ยวมากถึง 9-10 คะแนน ความเร็วในการตอบปัญหาเชาวน์ก็เร็วขึ้นด้วย
นักวิจัยเชื่อว่าสาเหตุของผลการทดลองนี้น่าจะมีที่มาจากสิ่งที่เรียกว่า "Mental bandwidth" นั่นคือสมองคนเราจะมีแบนด์วิดธ์จำกัด ในขณะที่เราต้องครุ่นคิดเกี่ยวกับปัญหาทางการเงินตลอดเวลา สมองก็จะไปเบียดบังดึงเอาประสิทธิภาพการประมวลผลจากการคิดในด้านอื่นๆ มาใช้ ฉะนั้นคนที่มีสถานะทางการเงินไม่มั่นคงจึงมีแนวโน้มที่จะรีดประสิทธิภาพสมองมาใช้ในด้านอื่นๆ ได้น้อยลง ส่งผลให้ตัดสินใจผิดพลาด, คิดช้าลง, และ IQ ต่ำลง พอมั่งคั่งอู้ฟู่ขึ้น สมองก็ปลอดโปร่ง คิดอะไรทำอะไรก็ง่ายก็ดีไปหมด
งานวิจัยนี้ตีพิมพ์ใน Science DOI: 10.1126/science.1238041
ที่มา - New Scientist, Medical Daily, Princeton University | https://jusci.net/node/3070 | สถานะทางการเงินที่ไม่ดีฉุด IQ |
NASA ทดสอบชิ้นส่วนของเครื่องยนต์จรวดที่สร้างด้วยเครื่องพิมพ์ 3 มิติแล้ว
ชิ้นส่วนแรกคือส่วน injector ของเครื่องยนต์จรวด สร้างขึ้นจากวัสดุ nickel-chromium alloy powder ด้วยกรรมวิธี laser melting โดยเบื้องต้น NASA ทดสอบผ่านการจุดระเบิดที่มีแรงดัน 20,000 ปอนด์ ชิ้นส่วนทำงานได้ดีไม่มีปัญหาใดๆ
NASA ระบุว่าต้องการทดลองและเรียนรู้การผลิตชิ้นส่วนจรวดด้วย 3D printer เพื่อหาบทเรียนและแนวทางว่าจะสามารถนำไปใช้กับการผลิตชิ้นส่วนจรวดขนาดใหญ่ได้มากน้อยแค่ไหน ซึ่งถ้าในอนาคตกระบวนการแบบนี้ใช้งานได้จริงก็น่าจะช่วยลดต้นทุนการผลิตของ NASA ลงได้มาก เพราะกระบวนการผลิตง่ายกว่ากันมาก (ชิ้นส่วนที่พิมพ์เอามีส่วนประกอบแค่ 2 ชิ้น ในขณะที่ของจริงต้องใช้ถึง 115 ชิ้น)
โครงการของ NASA นี้ชื่อว่า Space Shop รับผิดชอบโดยศูนย์วิจัย NASA Ames Research เป้าหมายคือการทดลองไอเดียใหม่ๆ ทั้งการเปิดซอร์สฮาร์ดแวร์ และการผลิตด้วย 3D printer
ที่มา - CNET | https://jusci.net/node/3072 | NASA เริ่มทดสอบชิ้นส่วนจรวดที่สร้างด้วย 3D Printer |
นักวิจัยทดลองเปลี่ยนยีนในหนูหนึ่งจุดเพื่อกดการสร้างโปรตีน rapamycin (mTOR) ให้เหลือการสร้างโปรตีนนี้เพียง 25% ของหนูตามธรรมชาติ ผลคือหนูทดลองกลุ่มที่ถูกเปลี่ยนยีนนี้มีอายุขัยเฉลี่ย 28 เดือนสำหรับหนูตัวผู้ และ 31.5 เดือนสำหรับหนูตัวเมีย เทียบกับ 22.9 เดือนและ 26.5 เดือน สำหรับหนูตามธรรมชาติตัวผู้และตัวเมียตามลำดับ
ความเปลี่ยนแปลงหลังลดโปรตีน mTOR ให้ผลที่ต่างกันไปในแต่ละอวัยวะ เช่นระบบความจำและกล้ามเนื้อนั้นเสื่อมช้าลง ขณะที่กระดูกและต้อตานั้นกลับเสื่อมเร็วขึ้น แม้ผลลัพธ์โดยรวมจะทำให้อายุขัยยาวนานขึ้นก็ตาม ตลอดจนติดเชื้อได้ง่ายขึ้นอีกด้วย
หนูที่ถูกแปลงพันธุกรรมนี้จะมีขนาดตัวเล็กลงเล็กน้อย แต่โดยรวมแล้วดูเหมือนหนูปกติทุกประการ
ที่มา - Wu et al., Increased Mammalian Lifespan and a Segmental and Tissue-Specific Slowing of Aging after Genetic Reduction of mTOR Expression, Cell Reports (2013), http://dx.doi.org/10.1016/j.celrep.2013.07.030 | https://jusci.net/node/3073 | การทดลองเปลี่ยนยีนหนูทำให้อายุยืนขึ้น 20% |
กระบวนการสร้างอวัยวะต่างๆ จากสเต็มเซลล์นั้นเป็นสายงานวิจัยที่ได้รับความสนใจอย่างสูงในช่วงหลัง และความสำเร็จล่าสุดมาจากออสเตรียที่สามารถสร้าง "สมอง" จากสเต็มเซลล์ได้แล้ว
งานวิจัยนี้นำทีมโดย ดร. Madeline Lancaster โดยทีมวิจัยใช้เต็มเซลล์มาเลี้ยงด้วยอาหารที่เหมาะสมกับการแปลงเป็นเซลล์สมองจากนั้นเซลล์จึงแปลงเป็นเนื้อเยื่อ neuroectoderm และภายในหนึ่งเดือนจึงแปลงเป็นรูปร่างคล้ายสมอง ขนาด 3-4 มิลลิเมตร โครงสร้างคล้ายสมองโดยทั่วไป ทั้งเปลือกสมอง, ส่วนจอตา, ยกเว้นเพียงส่วนซีรีเบลลัม ที่กระบวนการพัฒนาจะเกิดหลังสุด
ทีมวิจัยพบว่าสเต็มเซลล์สามารถจัดการแปลงตัวเองได้ค่อนข้างสมบูรณ์ถ้าได้รับอาหารอย่างถูกต้อง แต่ในกระบวนการพัฒนาสมองในสิ่งมีชิวิตจริงจะซับซ้อนกว่านี้มาก เพราะเซลล์บางส่วนจะต้องแปลงเป็นระบบเลือดเพื่อหล่อเลี้ยงสมองต่อไป
DOI: 10.1038/nature12517
ที่มา - New Scientist | https://jusci.net/node/3074 | นักวิจัยสร้างสมองขนาดเล็กจากสเต็มเซลล์สำเร็จ |
ในมุมมองของพันธุกรรม อดัมกับอีฟอาจจะมีชีวิตอยู่ในช่วงระยะเวลาเดียวกัน
ถ้าอดัมคือบรรพบุรุษของมนุษย์คนแรกที่มีโครโมโซมวาย (Y-chromsome Adam) ซึ่งโครโมโซมวายที่ผู้ชายทุกคนที่รับมาจากพ่อนั้นมีต้นกำเนิดมาจากอดัมคนนี้ และ ถ้าอีฟคือบรรพบุรุษคนแรกที่มีไมโตคอนเดรีย (mitochondria Eve) ซึ่งไมโตคอนเดรียที่มนุษย์ทุกคนรับมาจากแม่นั้นมีต้นกำเนิดมาจากอีฟคนนี้ นักวิจัยได้ทำการศึกษาว่าต้นกำเนิดร่วม (last common ancestor) ของยีนสองชุดนี้ว่ามีจุดเริ่มต้นเมื่อไหร่
จากการศึกษาไมโตคอนเดรียดีเอ็นเอ (mtDNA) จากมนุษย์ 147 คนทั่วโลก และโครโมโซมวายจากผู้ชาย 69 คนทั่วโลกพบว่า อดัมน่าจะมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 120,000-156,000 ปีที่แล้วและ อีฟน่าจะมีชีวิตอยู่ในช่วงเวลาประมาณ 99,000-148,000 ปีที่แล้ว
ในภาพประกอบข้างล่างนี้คือแผนภาพแสดงถึงต้นกำเนิดของมนุษย์ในปัจจุบัน Homo sapiens และการสูญพันธ์ของมนุษย์สายพันธุ์อื่่นๆ (เช่น Homo neanderthalensis และ Homo erectus)
ที่มา - ข้อมูล: Nature, ภาพ: wiki | https://jusci.net/node/3075 | มนุษย์เรามาจากไหน (ตอนที่ 1 : อดัมกับอีฟ) |
ทีมวิจัยที่ประกอบด้วย Yoshihiko Arita, Michael Mazilu และ Kishan Dholakia จากมหาวิทยาลัยเซนต์แอนดรูว์ สหราชอาณาจักร ประสบความสำเร็จในการประดิษฐ์วัตถุที่หมุนได้เร็วถึง 600 ล้านรอบต่อนาที นับเป็นสถิติวัตถุที่หมุนได้เร็วที่สุดเท่าที่มนุษย์เคยทำได้
พวกเขาเจียสร้างก้อนแคลเซียมคาร์บอเนตทรงกลมขนาดจิ๋วที่มีเส้นผ่านศูนย์กลางเพียง 4 ไมโครเมตร จากนั้นก็ใช้แสงเลเซอร์กักให้ก้อนแคลเซียมคาร์บอเนตลอยอยู่ในกระบอกสุญญากาศ เมื่อพวกเขาต้องการให้มันหมุน พวกเขาก็จะค่อยๆ ปรับ polarization ของแสงเลเซอร์เพื่อให้เกิดแรงหมุนกระทำบนก้อนแคลเซียมคาร์บอเนตอย่างต่อเนื่อง หลังจากการเร่งๆ ไปเรื่อยๆ พวกเขาสามารถทำให้ก้อนแคลเซียมคาร์บอเนตหมุนได้ด้วยความเร็ว 600 ล้านรอบต่อนาทีก่อนที่ก้อนแคลเซียมคาร์บอเนตจะแตกด้วยแรงหนีศูนย์กลาง ซึ่งนั่นหมายความว่าความเร่งเชิงเส้นของการหมุนในวินาทีสุดท้ายนั้นสูงถึง 1 พันล้านเท่าของความเร่งจากแรงโน้มถ่วงของโลก
แม้ว่าความสำเร็จในครั้งนี้จะไม่ได้นำมาซึ่งเครื่องซักผ้าหรือสว่านที่หมุนได้เร็วขึ้น แต่มันก็ปูโอกาสให้นักวิทยาศาสตร์ได้ศึกษาฟิสิกส์ของการหมุนที่ระดับความเร็วยิ่งยวดทั้งทางด้าน quantum friction และ thermodynamics เป็นต้น
ผลการทดลองนี้รายงานใน Nature Communications doi:10.1038/ncomms3374
ที่มา - BBC News, PhysOrg, Live Science | https://jusci.net/node/3076 | นักวิทยาศาสตร์จากอังกฤษประดิษฐ์วัตถุที่หมุนเร็วที่สุดในโลก |
ชีวิตเริ่มต้นขึ้นมาได้เมื่อสารชีวเคมีรู้จักการจำลองตัวเอง สิ่งที่จะจำลองตัวเองได้ก็ต้องมีข้อมูลในตัวเองซะก่อน หากว่ากันตามทฤษฎีที่เป็นที่ยอมรับกันมากที่สุดในปัจจุบัน นักวิทยาศาสตร์เชื่อว่าชีวิตบนโลกแบบที่เรารู้จักนั้นเริ่มจาก RNA และเราเรียกทฤษฎีนี้ว่า "RNA World Hypothesis" (อ่านเพิ่มเติมเกี่ยวกับ RNA World Hypothesis ได้จาก jusci.net/node/2791)
ปัญหาที่สำคัญมากๆ ของ RNA World Hypothesis คือ แม้เราค่อนข้างแน่ใจว่ามันจะต้องเกิดขึ้นมาเองโดยธรรมชาติเพราะคงไม่มีใครไปสร้างมันขึ้นมา แต่เราไม่รู้ว่า RNA โมเลกุลแรกที่ยาวพอจะเก็บข้อมูลและทำปฏิกิริยาจำลองตัวเองได้เกิดขึ้นมาอย่างไร พื้นผิวโลกเมื่อราว 3 พันล้านปีที่แล้วเกือบทั้งหมดปกคลุมไปด้วยน้ำ ในสภาพการณ์เช่นนั้นความเป็นไปได้ที่ ribonucleotide (หน่วยย่อยของ RNA) จะมาต่อกันเป็นสาย RNA ยาวๆ นั้นแทบจะเป็นศูนย์ เพราะทันทีที่ RNA เจอกับน้ำ มันก็จะสลายตัวทันที สารอินทรีย์ในโลกยุคบรรพกาลคงไม่ได้คลุกเคล้ากันเป็น "ซุปข้นๆ" หรอก น่าจะเป็นเหมือน "น้ำมันดิบ" คล้ำๆ เละๆ มากกว่า
เมื่อวันที่ 29 สิงหาคม ค.ศ. 2013 ที่ผ่านมา Steve Benner นักเคมีจาก Westheimer Institute of Science and Technology ได้เสนอในงานประชุม European Association of Geochemistry’s Goldschmidt Conference ณ เมืองฟลอเรนซ์ ประเทศอิตาลี ว่า เหตุผลที่เราหาคำตอบมาปิดปัญหากำเนิด RNA ไม่ได้สักทีเป็นเพราะเรามองสถานที่เกิดของ RNA ผิดไป
Steve Benner เชื่อว่า RNA ไม่ได้เกิดขึ้นบนโลก แต่เกิดขึ้นบนดาวอังคาร!
แม้ว่าหลักฐานล่าสุดจากยานสำรวจ Curiosity จะยืนยันแน่ชัดแล้วว่าดาวอังคารในอดีตเมื่อ 3-4 พันล้านปีก่อนเคยมีน้ำ แต่น้ำบนดาวอังคารก็น้อยกว่าบนโลกมากนัก พื้นที่ส่วนใหญ๋ของดาวอังคารน่าจะแห้งแล้งเป็นทะเลทราย Steve Benner ชี้ว่าหินดาวอังคารอุดมไปด้วยโมลิบดีนัมและโบรอนที่อยู่ในรูป oxidized ซึ่งพวกมันทำหน้าที่เป็นตัวเร่งให้ RNA เกิดขึ้นและต่อกันเป็นสายยาวๆ ได้ โบรอนจะเป็นตัวคอยจับให้เกิดเป็นน้ำตาลที่มีอะตอมคาร์บอนเรียงกัน 5 ตัว ส่วนโมลิบดีนัมช่วยตั้งวงให้น้ำตาล 5-คาร์บอนกลายเป็นวงน้ำตาล ribose (น้ำตาล ribose เป็นส่วนประกอบของ ribonucleotide)
Steve Benner ค่อนข้างแน่ใจว่าหินบนโลกเมื่อ 3-4 พันล้านปีก่อนไม่มีโมลิบดีนัมและโบรอนในรูป oxidized อย่างที่ดาวอังคารมี เนื่องจากในขณะนั้นโลกของเราไม่มีอะตอมออกซิเจนอิสระ ออกซิเจนเพิ่งจะถูกเติมเข้าไปในบรรยากาศโลกเมื่อ 2.5 พันล้านปีที่แล้วนี่เองโดยการสังเคราะห์แสงของสิ่งมีชีวิต ฉะนั้น RNA จะต้องเกิดบนดาวอังคาร แล้วค่อยโดนอุกกาบาตชนกระเด็นหล่นมาที่โลกในภายหลังแน่นอน ฟันธง!
นักวิทยาศาสตร์หลายคนตอบรับสมมติฐานของ Steve Benner ในแง่บวก นอกจากสมมติฐานนี้จะไขปริศนาการกำเนิด RNA ได้แล้ว มันยังเติมความหวังในการค้นหาชีวิตบนดาวอังคารอีกด้วย ถ้า RNA เกิดที่ดาวอังคารจริง ปัจจุบันอาจจะยังมีลูกหลานของ RNA บรรพกาลเหล่านั้นหลบซ่อนอยู่ในมุมมืดที่ไหนสักแห่งบนดาวอังคารก็ได้
อย่างไรก็ตาม นักวิทยาศาสตร์อีกหลายคนก็มองว่าสมมติฐาน Steve Benner ก้าวไกลล้ำเกินหลักฐานที่มียืนยันไปสักหน่อย หากจะให้แน่ใจไร้ข้อกังขา เรายังคงต้องรอหลักฐานอื่นๆ ประกอบ เช่น การทดลองจำลองสภาพของดาวอังคารเมื่อ 3-4 พันล้านปีที่แล้ว ดูว่ามันจะมี RNA โผล่ขึ้นมาเองได้จริงหรือไม่ เป็นต้น
ที่มา - ScienceNOW, New Scientist | https://jusci.net/node/3077 | ชีวิตอาจเริ่มต้นที่ดาวอังคาร? |
บริษัทรถไฟญี่ปุ่นเริ่มทดสอบรถไฟความเร็วสูงที่ใช้ระบบแม่เหล็ก (Maglev) ที่ความเร็วระดับ 500 กิโลเมตรต่อชั่วโมงแล้ว โดยรถไฟขบวนทดสอบ L0 Series มีทั้งหมด 5 ตู้โดยสาร วิ่งบนรางทดสอบความยาว 42.8 กิโลเมตร ในจังหวัด Yamanashi โดยมีสื่อมวลชนนั่งทดสอบไปด้วย
ช่วงออกตัว-หยุดที่สถานีที่รถไฟมีความเร็วต่ำกว่า 150 กิโลเมตรต่อชั่วโมง จะวิ่งด้วยระบบล้อยางไปบนรางตามปกติ แต่เมื่อความเร็วทะลุ 150 กิโลเมตรต่อชั่วโมงก็จะเปลี่ยนเป็นระบบ Maglev หรือการใช้สนามแม่เหล็กยกรถไฟให้สูงจากรางประมาณ 10 เซ็นติเมตร
ระบบ Maglev เอาเข้าจริงแล้วปลอดภัยกว่าการวิ่งด้วยล้อ เพราะไม่มีปัญหาด้านแรงเสียดทานและแรงเฉือนของผิวสัมผัส แถมยังมีเสียงเรียบกว่าและบำรุงรักษาได้ง่ายกว่า ใช้งานได้ในทุกสภาพอากาศ อย่างไรก็ตาม ระบบ Maglev มีปัญหาว่าต้องลงทุนสร้างรางใหม่ทั้งหมดในครั้งแรกซึ่งต้องใช้เงินมหาศาล และตามแผนรถไฟ Maglev เชิงพาณิชย์เส้นแรกของญี่ปุ่นคือโตเกียว-โอซาก้า ก็ต้องใช้เงินมากถึง 9 ล้านล้านเยน (ราว 3 ล้านล้านบาทไทย เรียกว่าเงินกู้ 2 ล้านล้านยังสร้างรถไฟสายเดียวไม่พอ) มีกำหนดเสร็จปี 2027
วิดีโอประกอบดูท้ายข่าวนะครับ
ที่มา - ExtremeTech | https://jusci.net/node/3078 | ญี่ปุ่นเริ่มทดสอบรถไฟ Maglev ความเร็ว 500 กิโลเมตรต่อชั่วโมง |
Harold G. White นักฟิสิกส์และวิศวกรด้านการขับดันชั้นสูง และวิศวกรคนอื่นที่นาซ่า ได้พยายามออกแบบอุปกรณ์ที่วาร์ป (warp) วิถีของโฟตอน เปลี่ยนระยะทางที่โฟตอนนั้นเดินทางได้ในพื้นที่บริเวณหนึ่งๆ เพื่อตรวจสอบว่าเขาสามารถที่จะขับดันโฟตอนให้วิ่งด้วยความเร็วมากกว่าแสงได้หรือไม่ (Faster-than-light, FTL) ห้องปฏิบัติการณ์ที่ใช้วิจัยนี้ตั้งอยู่ที่ศูนย์อวกาศจอห์นสันมลรัฐเทกซัส และมีลักษณะพิเศษคือ มันลอยอยู่เหนือพื้น! และถูกออกแบบให้ปราศจากการสั่นสะเทือนต่างๆ เนื่องจากเครื่องมือที่ใช้วัดนั้นสามารถที่จะวัดการสั่นขนาดเล็กมากๆได้ วัดได้ถึงขนาดแม้กระทั่งคนที่เดินอยู่ใกล้ๆ
ดร.ไวท์ พยายามที่จะพิสูจน์ว่า การเดินทางด้วยความเร็วเหนือกว่าแสงนั้นเป็นไปได้ และในวันหนึ่งเขาสามารถที่จะสร้างเครื่องยนต์ที่เหมือนกับยานที่อยู่ในเรื่อง Star trek ได้
วาร์ปไดรฟ์ เหมือนที่อยู่ในยานเอนเตอร์ไพรซ์!
งานวิจัยของดร.ไวท์มีพื้นฐานมาจากทฤษฏีของ Miguel Alcubierre นักฟิสิกส์ขาวเม็กซิกัน ซึ่งได้เสนอไว้ในปี 1994 ว่า เราสามารถที่จะก้าวข้ามขีดจำกัดของความเร็วในแกแลกซี่ได้ถ้านักวิทยาศาสตร์สามารถหาทางควบคุมการยืดตัวและการขยายตัวของอวกาศ (space) ได้
สมมติฐานของ Dr. Alcubierre กล่าวไว้ว่า โดยการสร้างฟองสบู่วาร์ปซึ่งจะไปขยายอวกาศทางด้านหนึ่งของยาน และหดอวกาศอีกด้านหนึ่ง เช่นนี้ยานอวกาศก็จะถูกผลักออกไปจากโลกและถูกดึงไปสู่ดวงดาวที่อยู่ไกลๆด้วยกาลอวกาศของมันเอง ดังรูป
โดยทางทฤษฏีแล้ว วาร์ปไดรฟ์สามารถที่จะลดเวลาในการเดินทางข้ามระบบหมู่ดาวจากใช้เวลาเป็นหมื่นๆปีเหลือเพียงแค่ไม่กี่เดือนหรืออาทิตย์เท่านั้น แต่ก็ยังต้องใช้เวลาอีกนานนักกว่าจะได้เห็นเครื่องต้นแบบออกมา
Edwin F. Taylor อดีตบรรณาธิการของวารสารฟิสิกส์ของอเมริกัน (APS) และนักวิจัยอาวุโสที่ MIT กล่าวว่า “ความคิดนี้เป็นความคิดที่บ้าทีเดียว”
“(แต่) มาคุยกับผมอีกร้อยปีให้หลังนะ” เขากล่าวเสริม
อย่างไรก็ตามถึงแม้มันจะมีโอกาสเป็นจริงได้ยาก ดร. ไวท์และทีม ก็ยังดำเนินการวิจัยต่อไปและมีความเชื่อว่าพวกเขาสามารถที่จะทำให้การเดินทางด้วยกว่าเร็วเหนือกว่าแสงมาสู่โลกความเป็นจริง
ยานที่เดินทางข้ามระบบดวงดาวที่ใช้เทคนิค FTL ในดวงใจของผู้เขียนคือลำนี้เลย "DESTINY"
Make sense กว่า Enterprise เยอะ !!!
ที่มา - The New York Times | https://jusci.net/node/3079 | The Beginning of Warp one! |
ทีมวิจัยที่นำโดย Zhigang Suo แห่งมหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ด ได้ประดิษฐ์ลำโพงแบบใหม่ใสกิ๊ง ... คำว่า "ใส" ในที่นี้ไม่ใช่เสียงใส แต่หมายถึงตัวลำโพงต่างหากที่โปร่งใส เพราะมันทำจากเจลน้ำที่เรียกว่า Hydrogel ทั้งดุ้น!
Zhigang Suo เห็นว่า ในเมื่อไอออนสามารถเคลื่อนที่นำพากระแสไฟฟ้าได้ ทำไมเราถึงไม่เอาพลังงานจากการเคลื่อนที่นี้มาแปลงเป็นพลังงานกลขับเคลื่อนลำโพงหละ ดังนั้นเขาและเพื่อนร่วมงานจึงเอาสารละลายไอออนมาผสมกับโพลีเมอร์สังเคราะห์ชนิดพิเศษได้ออกมาเป็น Hydrogel ซึ่งมีสภาพกึ่งเหลวกึ่งแข็งเหมือนกับวุ้น ข้อดีของ Hydrogel คือมันสามารถดึงยืดเป็นแบนๆ ได้ ในขณะเดียวกันก็ปล่อยให้ไอออนใน Hydrogel เคลื่อนที่ได้อย่างอิสระเหมือนกับไอออนในของเหลว
เมื่อผ่านกระแสไฟฟ้าเข้าไป ไอออนใน Hydrogel ก็จะเคลื่อนที่ไปมา ทำให้แผ่น Hydrogel เกิดการสั่นพ้องที่ความถี่ต่างๆ กัน ลำโพง Hydrogel ของ Zhigang Suo สามารถเปล่งเสียงได้ทุกย่านความถี่เหมือนลำโพงทั่วไป เสียดายแค่ว่าตอนนี้มันยังเป็นเพียงตัวต้นแบบเท่านั้น ข้อจำกัดสำคัญของ Hydrogel คือ พอใช้ไปสักพัก น้ำจะระเหยออกไปจนเจลแห้งใช้การต่อไม่ได้
แต่หากในอนาคต นักวิทยาศาสตร์หาทางแก้ปัญหาเรื่องการระเหยแห้งสำเร็จ แผ่นลำโพง Hydrogel นี้ก็อาจจะออกมาให้ได้เห็นเป็นสินค้านวัตกรรมใหม่ๆ เช่น หน้าจอสมาร์ทโฟนที่ส่งเสียงได้โดยไม่ต้องพึ่งลำโพงภายนอก, หรือ หน้าต่างกระจกที่ปล่อยคลื่นเสียงมาหักล้างเสียงรบกวน (noise-cancelling window) เป็นต้น
งานวิจัยนี้รายงานใน Science DOI: 10.1126/science.1240228
ที่มา - New Scientist | https://jusci.net/node/3080 | ลำโพงเจลใสขับเคลื่อนด้วยไอออน |
ในสายตาของคนทั่วไป "วิทยาศาสตร์" เป็นคำที่สื่อถึงอารมณ์ค่อนข้างเย็นชา ไร้หัวจิตหัวใจ วัตถุนิยม เทคโนโลยีทำร้ายธรรมชาติ เพิกเฉยต่อศีลธรรม (บางครั้งก็ถึงขั้นปราศจากศีลธรรมเลย) ฯลฯ แต่ในสายตาของผู้ที่รักวิทยาศาสตร์ พวกเขาศรัทธาเชื่อว่าวิทยาศาสตร์นั้นไม่ได้เลวร้ายในตัวของมันเอง วิทยาศาสตร์อุดมไปด้วยเหตุผลตรรกะและความยุติธรรมต่อหลักฐาน ซึ่งคุณสมบัตินี้เป็นรากฐานของอุดมคติร่วมของคุณธรรมในกมลสันดานของมนุษย์
ทีมวิจัยของ University of California ใน Santa Barbara ต้องการที่จะศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างมุมมองต่อวิทยาศาสตร์กับระดับศีลธรรมของมนุษย์ พวกเขาจึงจัดชุดการทดลอง 4 การทดลองโดยใช้นักศึกษาในวิทยาเขตมาเป็นกลุ่มตัวอย่าง
การทดลองที่ 1 เป็นการพิสูจน์สมมติฐานว่าคนที่เชื่อในวิทยาศาสตร์จะมีสำนึกคุณธรรมมากตามไปด้วยหรือไม่ นักวิจัยเริ่มการทดลองด้วยการให้กลุ่มตัวอย่างรับฟังเรื่องราวผู้ชายข่มขืนผู้หญิง จากนั้นก็ให้กลุ่มตัวอย่างประเมินว่าผู้ชายคนนั้นเลวมากน้อยเพียงใด (คะแนนเริ่มจาก 1=ไม่ผิดเลย, จนถึง 100=ผิดเต็มประตู เลวๆๆๆ) หลังจากนั้นก็ให้กลุ่มตัวอย่างทำแบบสอบถามเพื่อที่จะดูว่ากลุ่มตัวอย่างแต่ละคนมีทัศนคติศรัทธาในวิทยาศาสตร์มากน้อยเท่าไร
ผลจากการทดลองที่ 1 ปรากฏออกมาว่าความศรัทธาต่อวิทยาศาสตร์สัมพันธ์กับสำนึกคุณธรรมในเชิงบวก กลุ่มตัวอย่างที่ได้คะแนนศรัทธาในวิทยาศาสตร์สูงมีแนวโน้มให้คะแนนความเลวผู้ชายที่ข่มขืนผู้หญิงสูงตามไปด้วย
เมื่อนักวิจัยพบความสัมพันธ์สอดคล้องตามสมมติฐานแรกที่ตั้งไว้ พวกเขาจึงต่อยอดด้วยการทดลองที่ 2, 3, 4 เพื่อจะดูว่าวิทยาศาสตร์เป็นสาเหตุที่กระตุ้นต่อมคุณธรรมของคนจริงหรือไม่ พวกเขาใช้เทคนิคทางจิตวิทยาที่เรียกว่า "priming" นั่นคือ นักวิจัยจะจับกลุ่มตัวอย่างมานั่งเรียงคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์ก่อนเริ่มการทดลอง เช่น คำว่า "ห้องแล็บ", "ทฤษฎี", "สมมติฐาน", "การทดลอง" เป็นต้น เมื่อคนได้เห็นคำพวกนี้ เขาก็จะถูกเหนี่ยวนำให้คิดถึงวิทยาศาสตร์แวบเข้ามาในห้วงความคิดอย่างไม่รู้ตัว
การทดลองที่ 2, 3, 4 นั้นมีขั้นตอนการทำเหมือนกันหมด คือ เริ่มจากการ priming กลุ่มตัวอย่าง จากนั้นก็เอามาทำกิจกรรมประเมินระดับคุณธรรม ได้แก่
การทดลองที่ 2 กลุ่มตัวอย่างจะได้อ่านเรื่องผู้ชายข่มขืนผู้หญิงเหมือนในการทดลองที่ 1 (แต่ละการทดลองไม่มีการใช้กลุ่มตัวอย่างซ้ำ)
การทดลองที่ 3 กลุ่มตัวอย่างต้องตอบแบบสอบถามว่าจะมีแนวโน้มในการทำความดีมากน้อยแค่ไหนภายในเวลา 1 เดือนข้างหน้า
การทดลองที่ 4 กลุ่มตัวอย่างต้องเล่นเกม "Dictator Game" ซึ่งเป็นเกมอย่างหนึ่งในการทดลองทางเศรษฐศาสตร์ กลุ่มตัวอย่างแต่ละคนจะได้รับเงิน 5 เหรียญสหรัฐฯ เขา/เธอต้องตัดสินใจว่าจะแบ่งเงินให้กับคู่เล่นอีกฝ่ายเท่าไร
ผลการทดลองที่ 2, 3, 4 ให้ผลออกมาสอดคล้องกันอย่างชัดเจนว่าการคิดถึงวิทยาศาสตร์กระตุ้นสำนึกคุณธรรมในจิดใจคนได้จริงๆ คนที่โดน priming ด้วยคำที่เกี่ยวข้องกับวิทยาศาสตร์มีแนวโน้มที่จะ (การทดลองที่ 2) ตัดสินให้คะแนนความเลวแก่ผู้ชายที่ข่มขืนผู้หญิง, (การทดลองที่ 3) รายงานถึงการทำความดีในอนาคต, และ (การทดลองที่ 4) แบ่งเงินให้กับคู่เล่นอีกฝ่ายมากกว่ากลุ่มควบคุมที่โดน priming ด้วยคำเรื่อยเปื่อยที่ไม่เกี่ยวอะไรกับวิทยาศาสตร์เลย
ที่น่าสนใจยิ่งกว่านั้น แนวโน้มของระดับการกระตุ้นคุณธรรมโดยวิทยาศาสตร์ไม่ได้แปรผันไปตามปัจจัยของเพศ, เชื้อชาติหรือศาสนาด้วย (ยกเว้นในการทดลองที่ 4 ซึ่งกลุ่มตัวอย่างเพศหญิงมีแนวโน้มกั๊กเงินไว้กับตัวเองมากกว่าผู้ชาย!) รูปแบบตรงนี้ชี้ให้เห็นว่าความสัมพันธ์ระหว่างวิทยาศาสตร์กับคุณธรรมนั้นน่าจะอยู่ลึกในระดับฐานราก ไม่ใช่เรื่องผิวเผิน อย่างไรก็ตามกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ในการทดลองคัดเลือกมาจากนักศึกษามหาวิทยาลัยซึ่งเป็นกลุ่มที่มักจะเป็นพวกเสรีนิยมอยู่แล้ว บางทีมันอาจจะยังสะท้อนภาพรวมของประชากรมนุษย์ทั้งหมดไม่ได้ดีนัก
งานวิจัยนี้ตีพิมพ์ใน PLoS ONE doi:10.1371/journal.pone.0057989
ที่มา - Scientific American | https://jusci.net/node/3081 | การทดลองชี้ "วิทยาศาสตร์" กระตุ้นสำนึกคุณธรรม |
ความตื่นตระหนกถึงสารปนเปื้อนในข้าวไม่ได้มีเฉพาะในไทยอย่างเดียว ปีที่แล้วนิตยสาร Consumer Reports รายงานถึงปริมาณสารหนูที่ปนเปื้อนในข้าวว่าอาจจะสูงเกินกว่าระดับปลอดภัย และตอนนี้ทาง FDA หรืออย. ของสหรัฐฯ ก็ออกรายงานผลการสำรวจตัวอย่าง 1,300 ชุดว่าไม่มีตัวอย่างใดเกินระดับความปลอดภัย
ในบรรดากลุ่มตัวอย่างนั้น ข้าวแดง (brown rice) เป็นกลุ่มที่มีสารหนูปนเปื้อนมากที่สุด 160 ส่วนในพันล้านส่วน เนื่องจากสารหนูมักสะสมอยู่ในเปลือกข้าว ข้าวขาวที่ขัดสีแล้วจึงมักมีสารหนูปนเปื้อนน้อยกว่า
ระดับความปลอดภัยนี้ทำให้แน่ใจว่าข้าวที่ผ่านมาตรฐานนั้นจะไม่มีผลกระทบต่อสุขภาพในระยะสั้น แต่ผลกระทบจากการสะสมในระยะยาวนั้นยังไม่ชัดเจน
มาตรฐานความปลอดภัยของอาหารแต่ละชนิดนั้นต่างกันออกไป เช่น น้ำดื่มนั้นถูกกำหนดให้มีสารหนูปนเปื้อนได้เพียง 10 ส่วนในพันล้านส่วนเท่านั้น แต่ปริมาณเหล่านี้ก็พิจารณาจากปริมาณที่คนเราบริโภคในแต่ละวันด้วย
บรรณาธิการของนิตยสาร Consumer Report ระบุว่าเรื่องสำคัญอย่างหนึ่งสำหรับผู้บริโภคคือการบริโภคอาหารที่หลากหลายขึ้น เช่น อาหารเด็กทารกนั้นไม่จำเป็นต้องให้ซีเรียลที่ทำจากข้าวเพียงอย่างเดียว แต่สามารถเลือกซีเรียลที่ทำจากธัญพืชอื่นๆ ได้ด้วย
ประชากรสหรัฐฯ นั้นบริโภคข้าวเฉลี่ยปีละประมาณ 11 กิโลกรัมเท่านั้น เทียบกับประเทศในแถบเอเชียที่มักจะสูงกว่านับสิบเท่าตัว
ที่มา - USA Today, CBS | https://jusci.net/node/3086 | FDA ประกาศผลทดสอบสารหนูในข้าว ไม่พบตัวอย่างที่เกินระดับอันตราย |
เมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมานาซ่ายิงจรวดในภารกิจ LADEE (Lunar Atmosphere and Dust Environment Explorer) เพื่อส่งหุ่นยนต์ลงสำรวจชั้นบรรยากาศและฝุ่นบนดวงจันทร์ ด้วยจรวด Minotaur V ตอนนี้ยานกำลังอยู่ระหว่างการโคจรรอบโลก เพื่อเร่งความเร็วแล้วเหวี่ยงไปยังดวงจันทร์ จากนั้นจึงไปโคจรรอบดวงจันทร์ที่ความสูง 50 กิโลเมตรอีก 100 วัน
แต่ระหว่างการยิง กล้องจากฐานยิงมีภาพกบตัวหนึ่งถูกเป่าจากเครื่องยนต์จนปลิวผ่านกล้อง
ภาพนี้ได้รับการยืนยันจากนาซ่าว่าเป็นภาพจริง
ที่มา - Universe Today | https://jusci.net/node/3091 | นาซ่ายิงจรวดสำรวจดวงจันทร์สำเร็จ มีผู้เสียชีวิตเป็นกบหนึ่งตัว |
Subsets and Splits