Book,Page,LineNumber,Text 49,0049,001,มายังเรือนแม้ทั้งสองชนิดนั้น ด้วยความเข้าใจว่าเรือนของตน ฉะนั้น 49,0049,002,จึงตรัสว่า มายังเรือนของตน. 49,0049,003,พระผู้มีพระภาคเจ้า ทรงแสดงแก่พระราชาถึงพวกเปรต 49,0049,004,เป็นอันมาก ผู้มีรูปแปลกไม่น่าดู ทั้งดูน่าสะพึงกลัวอย่างยิ่ง ผู้เสวย 49,0049,005,ผลของความริษยาและความตระหนี่ ผู้มายังพระราชนิเวศน์ของ 49,0049,006,พระเจ้าพิมพิสาร แม้ตนจะไม่เคยครอบครองอยู่ในกาลก่อน ด้วย 49,0049,007,สำคัญว่าเป็นเรือนของตน เพราะเป็นเรือนของญาติในกาลก่อน 49,0049,008,แล้ว ยืนอยู่ภายนอกฝาเรือนเป็นต้น ด้วยประการอย่างนี้ จึงตรัส 49,0049,009,คาถาว่า ติโรกุฑฺเฑสุ ติฏฺ€นฺติ เมื่อจะทรงแสดงซ้ำว่า กรรมที่ 49,0049,010,พวกเปรตเหล่านั้นทำเป็นของโหดร้าย จึงตรัสคาถาที่ ๒ ว่า ปหูเต 49,0049,011,อนฺนปานมฺหิ ดังนี้เป็นต้น. 49,0049,012,"บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ปหูเต แปลว่า ไม่น้อย คือ มาก," 49,0049,013,อธิบายว่า เพียงพอแก่ความต้องการ. จริงอยู่ แปลง อักษร เป็น 49,0049,014, อักษรก็ได้ เหมือนในประโยคทีมีอาทิว่า ปหุ สนฺโต น ภราติ 49,0049,015,สัปบุรุษเป็นจำนวนมาก ย่อมไม่เต็ม (ด้วยความรู้). ส่วนอาจารย์ 49,0049,016,บางพวกกล่าวว่า พหุเก ดังนี้. ก็นั่น เป็นการกล่าวด้วยความเลินเล่อ. 49,0049,017,บทว่า อนฺนปานมฺหิ แปลว่า เมื่อข้าวและน้ำ. บทว่า ขชฺชโภชฺเช 49,0049,018,แปลว่า เมื่อของเคี้ยวและของบริโภค. ด้วยคำนี้ ทรงแสดงอาหาร 49,0049,019,ทั้ง ๔ ชนิดคือ ของกิน ของดื่ม ของเคี้ยว และของลิ้ม. บทว่า 49,0049,020,"อุปฏฺ€ิเต แปลว่า เข้าไปตั้งไว้ คือ ตระเตรียมไว้, อธิบายว่า" 49,0049,021,จัดแจงไว้. บทว่า น เตสํ โกจิ สรติ สตฺตานํ ความว่า ใคร ๆ