Book,Page,LineNumber,Text 48,0046,001,ใช้ในอรรว่า ภพ ได้ในบาลีเป็นต้นว่า เอกํปิ ชาตึ เทฺวปิ ชาติโย 48,0046,002,ชาติ [ ภพ ] ๑ บ้าง ๒ ชาติ [ ภพ ] บ้าง. แม้ในที่นี้ ชาติศัพท์ 48,0046,003,พึงเห็นว่า ใช้ในอรรถว่า ภพอย่างเดียว. เพราะฉะนั้น จึงมีความว่า 48,0046,004,ในชาติก่อน คือในภพก่อน อธิบายว่า ในอัตภาพก่อนที่ล่วงมาติดต่อ 48,0046,005,กัน ก็คำนี้เป็นตติยาวิภัตติ ใช้ในอรรถสัตตมีวิภัตติ. บทว่า มนุสฺสโลเก 48,0046,006,ได้แก่ ภพ คือมนุษยโลก ท่านกล่าวหมายถึงกรุงราชคฤห์. ในที่นี้ท่าน 48,0046,007,ประสงค์เอาโอกาสโลก ส่วนสัตวโลกท่านกล่าวด้วยบทว่า มนุสฺเสสุ 48,0046,008,นี้แล้ว. 48,0046,009,บทว่า อทฺทสํ แปลว่า เห็นแล้ว [ พบแล้ว ]. บทว่า วิรชํ 48,0046,010,ได้แก่ ชื่อว่า วิรชะ เพราะท่านปราศจากกิเลสดุจธุลีมีราคะเป็นต้นแล้ว. 48,0046,011,บทว่า ภิกฺขุํ ได้แก่ ชื่อว่า ภิกษุ เพราะท่านทำลายกิเลสเสียแล้ว. 48,0046,012,ชื่อว่า วิปปสันนะ เพราะท่านมีจิตผ่องใส เหตุไม่มีความขุ่นมัวด้วยกิเลส 48,0046,013,ชื่อว่า อนาวิละ เพราะท่านมีความดำริไม่หม่นหมอง. บทต้น ๆ ในคำ 48,0046,014,นี้ เป็นคำกล่าวเหตุของบทหลัง ๆ ว่า เพราะเหตุที่ท่านปราศจากกิเลส 48,0046,015,ดุจธุลีมีราคะเป็นต้น จึงชื่อว่า ภิกษุ เพราะทำลายกิเลสเสียแล้ว เพราะเหตุ 48,0046,016,ที่ทำลายกิเลสเสียแล้ว จึงชื่อว่า วิปปสันนะ เพราะไม่มีความขุ่นมัวด้วย 48,0046,017,กิเลส ชื่อว่า อนาวิละ เพราะท่านเป็นผู้มีใจผ่องใสแล้ว. หรือว่า บท 48,0046,018,หลัง ๆ เป็นคำกล่าวเหตุของบทต้น ๆ. ชื่อว่า วิรชะ เพราะประกอบ 48,0046,019,ด้วยความไม่อาลัยในคุณเครื่องเป็นภิกษุ. จริงอยู่ ภิกษุเป็นผู้ทำลายกิเลส 48,0046,020,เสียแล้ว ชื่อว่า ภิกษุ เพราะเป็นผู้ผ่องใสแล้ว. จริงอยู่ ภิกษุชื่อว่า 48,0046,021,เป็นผู้มีใจผ่องใสแล้ว เพราะไม่มีความขุ่นมัวด้วยกิเลส ชื่อว่า วิปปสันนะ