Book,Page,LineNumber,Text 34,0037,001,เพราะหมายความว่า ทรงเป็นพระราชาด้วยธรรมนั่นเอง คือ ด้วยจักรพรรดิ 34,0037,002,วัตร ๑๐ ประการ. บทว่า โสปิ น อราชกํ ความว่า พระเจ้าจักรพรรดิแม้นั้น 34,0037,003,เมื่อไม่ได้พระราชาอื่นเป็นที่อาศัย ก็ไม่ทรงสามารถจะปล่อยจักรไปได้. 34,0037,004,พระศาสดาทรงเริ่มเทศนาไว้อย่างนี้แล้ว ได้ทรงนิ่งเสีย. ถามว่า เพราะ 34,0037,005,เหตุไร. ตอบว่า เพราะพระองค์ทรงดำริว่า ภิกษุทั้งหลายผู้ฉลาดในอนุสนธิ 34,0037,006,จักลุกขึ้นถามอนุสนธิ. เนื่องจากว่า ในที่นี้มีภิกษุทำนองนั้นมากอยู่มาก ครั้นแล้ว 34,0037,007,เราตถาคตอันภิกษุเหล่านั้น ถามแล้ว จึงจักขยายเทศนา. ทันใดนั้น ภิกษุ 34,0037,008,ผู้ฉลาดในอนุสนธิรูปหนึ่ง เมื่อจะทูลถามพระผู้มีพระภาคเจ้า จึงกราบทูลคำว่า 34,0037,009,โก ปน ภนฺเต ดังนี้เป็นต้น. ฝ่ายพระผู้มีพระภาคเจ้า เมื่อจะทรงพยากรณ์ 34,0037,010,แก่ภิกษุนั้น จึงตรัสคำว่า ธมฺโม ภิกขุ ดังนี้เป็นต้น. 34,0037,011,บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า ธมฺโม ได้แก่ธรรม คือ กุศลกรรมบถ 34,0037,012,๑๐ ประการ. บทว่า ธมฺมํ ได้แก่ ธรรมมีประการดังกล่าวแล้วนั้นแล. บทว่า 34,0037,013,นิสฺสาย ได้แก่ ทำธรรมนั้นแลให้เป็นที่อาศัยด้วยใจ ซึ่งเป็นที่ตั้งของธรรม 34,0037,014,นั้น. บทว่า ธมฺมํ สกุกโรนฺโต ความว่า ธรรมที่ตนสักการะแล้วนั่นแล 34,0037,015,ย่อมเป็นอันทำด้วยดีด้วยประการใด ก็กระทำโดยประการนั้นทีเดียว. บทว่า 34,0037,016,ธมฺมํ ครุกโรนฺโต ความว่า เคารพธรรมนั้นด้วยการเกิดความเคารพใน 34,0037,017,ธรรมนั้น. บทว่า ธมฺมํ อปจายมาโน ความว่า ทำความอ่อนน้อมถ่อมตน 34,0037,018,ด้วยสามีจิกรรม มีการประคองอัญชลีเป็นต้น แก่ธรรมนั้นนั่นแล. 34,0037,019,บทว่า ธมฺมทฺธโช ธมฺมเกตุ ความว่า ชื่อว่าเป็นผู้มีธรรมเป็นธงชัย 34,0037,020,และชื่อว่า เป็นผู้มีธรรมเป็นตรา เพราะทำธรรมนั้นไว้ข้างหน้า เหมือนนัก 34,0037,021,รบยกธงไว้ข้างหน้า และยกธรรมนั้นขึ้น เหมือนนักรบยกทวนขึ้นเป็นไป. 34,0037,022,บทว่า ธมฺมาธิปเตยฺโย ความว่า ชื่อว่าเป็นผู้มีธรรมเป็นใหญ่ เพราะความ