|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
50,0049,001,อันมีเมืองกุสาวดีราชธานี เป็นประมุขเหล่านี้ ของพระองค์ ขอพระองค์จงยัง
|
|
50,0049,002,ฉันทะให้เกิด ในพระนครเหล่านี้เถิด จงทำความใยดีในชีวิต ดังนี้. มาใน
|
|
50,0049,003,อุปปัตติเทพ ดังในประโยคมีอาทิว่า เหล่าเทพชั้นจาตุมหาราชิกา มีวรรณะ
|
|
50,0049,004,มากด้วยความสุข ดังนี้. มาในวิสุทธิเทพ ดังในประโยคมีอาทิว่า คำสอน
|
|
50,0049,005,ของพระผู้มีพระภาคเจ้า พระองค์นั้น ผู้เป็นเทพเหนือเทพ ผู้เห็นไญยธรรม
|
|
50,0049,006,ทั้งปวง ดังนี้. ก็ในเมื่อกล่าวถึงข้อที่พระผู้มีพระภาคเจ้าเป็นเทพเหนือกว่า
|
|
50,0049,007,วิสุทธิเทพทั้งหลาย เทพนอกนี้เป็นอันท่านกล่าวถึงแล้วทีเดียว. มาในอากาศ
|
|
50,0049,008,ดังในประโยคมีอาทิว่า ในอากาศที่แจ่มใส ปราศจากเมฆหมอก ดังนี้.
|
|
50,0049,009,มาในเมฆหรือหมอก ดังในประโยคมีอาทิว่า ก็ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล
|
|
50,0049,010,ดังนี้. แม้ในคาถานี้ ได้แก่ เมฆหรือหมอก. ก็พระเถระกล่าวบังคับเมฆหมอก
|
|
50,0049,011,เหล่านั้นว่า วัสสะ (จงยังฝนให้ตก).
|
|
50,0049,012,บทว่า <B>ยถาสุขํ</B> แปลว่า ตามใจชอบ. พระเถระเมื่อจะอนุเคราะห์
|
|
50,0049,013,เหล่าสัตว์ผู้อาศัยฝนเป็นอยู่ จึงกล่าวว่า อันตรายในภายนอกไม่มีแก่เรา เพราะ
|
|
50,0049,014,การตกของท่าน เพราะฉะนั้น ท่านจงตกตามสบายเถิด ดังนี้.
|
|
50,0049,015,บัดนี้ พระเถระเมื่อจะแสดงถึงความไม่มีอันตรายในภายใน จึงกล่าว
|
|
50,0049,016,คำมีอาทิว่า <B>จิตฺตํ</B> ดังนี้.
|
|
50,0049,017,บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า <B>จิตฺตํ เม สุสมาหิตํ</B> ความว่า จิตของเรา
|
|
50,0049,018,ตั้งอยู่แล้วในอารมณ์ด้วยดี คือดียิ่ง โดยชอบ คือโดยความเป็นเอกัคคตารมณ์
|
|
50,0049,019,อันถูกต้องทีเดียว.
|
|
50,0049,020,แลจิตนั้น มิได้ตั้งมั่น ด้วยเหตุเพียงข่มนิวรณ์เป็นต้นไว้ได้เท่านั้น
|
|
50,0049,021,โดยที่แท้ จิตนั้นหลุดพ้นแล้ว คือพ้นแล้วโดยพิเศษ จากสังโยชน์ทั้งปวง
|
|
50,0049,022,อันสงเคราะห์ด้วยโอรัมภาคิยสังโยชน์ และอุทธัมภาคิยสังโยชน์ และจากกิเลส
|
|
|