|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
49,0013,001,บทว่า <B>ทายกา</B> ได้แก่ ผู้ให้ คือ ผู้บริจาค ปัจจัยมีจีวร เป็นต้น.
|
|
49,0013,002,อธิบายว่า ผู้สละคือตัดกิเลสมีโลภะเป็นต้น ในสันดานของตน
|
|
49,0013,003,โดยการบริจาคปัจจัยมีจีวรเป็นต้นนั้น อีกอย่างหนึ่ง ผู้ชำระและ
|
|
49,0013,004,ผู้รักษา สันดานของตน จากกิเลสมีความโลภเป็นต้นนั้น. บทว่า
|
|
49,0013,005,<B>สฺสกูปมา</B> ได้แก่ เสมือนชาวนา. ชาวนา ไถนาข้าวสาลีเป็นต้น
|
|
49,0013,006,เมื่อไม่ประมาท ด้วยกิจมีการหว่าน การไขน้ำเข้า การเปิดน้ำออก
|
|
49,0013,007,การปักดำ และการรักษา เป็นต้น ตามควรแก่เวลา ย่อมได้รับผล
|
|
49,0013,008,แห่งข้าวกล้า อันโอฬารและไพบูลย์ ฉันใด แม้ทายกก็ฉันนั้น เมื่อ
|
|
49,0013,009,ไม่ประมาทด้วยการบริจาคไทยธรรม และการปรนนิบัติในพระ-
|
|
49,0013,010,อรหันต์ทั้งหลาย ย่อมได้รับผลแห่งทานอันโอฬารและไพบูลย์.
|
|
49,0013,011,ด้วยเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวว่าทายกและทายิกา เปรียบด้วยชาวนา
|
|
49,0013,012,ดังนี้เป็นต้น.
|
|
49,0013,013,"บทว่า <B>พีชูปมํ เทยฺยธมฺมํ</B> ท่านกล่าวด้วยลิงควิปปลาส,"
|
|
49,0013,014,อธิบายว่า ไทยธรรมเป็นเหมือนพืช. จริงอยู่ คำว่า <B>เทยฺยธมฺมํ</B> นี้
|
|
49,0013,015,เป็นชื่อของวัตถุที่จะพึงให้ ๑๐ อย่าง มีข้าวและน้ำเป็นต้น. บทว่า
|
|
49,0013,016,<B>เอตฺโต นิพฺพตฺตเต ผลํ</B> ความว่า ผลแห่งทาน ย่อมบังเกิด และเกิดขึ้น
|
|
49,0013,017,จากการบริจาคไทยธรรมของทายกแก่ปฏิคาหกนั้น ละย่อมเป็นไป
|
|
49,0013,018,ด้วยอำนาจการสืบเนื่องตลอดกาลนาน.
|
|
49,0013,019,ก็ในที่นี้ เพราะเหตุวัตถุมีข้าวและน้ำเป็นต้น ที่จัดแต่งด้วย
|
|
49,0013,020,เจตนาเครื่องบริจาค ไม่ใช่ภาวะแห่งวัตถุนอกนี้ เพราะฉะนั้น ท่าน
|
|
49,0013,021,จึงจัดไทยธรรมด้วยศัพท์ว่า <B>พีชูปมํ เทยฺยธมฺมํ</B> ดังนี้. เพราะเหตุนั้น
|
|
|