|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
48,0026,001,ความไม่แน่นอน ถือเอาความต่างเป็นอย่าง ๆ ไป ด้วยศัพท์แม้ทั้งสอง
|
|
48,0026,002,ย่อมรวบรวมโภคะเช่นนั้น ที่ได้ในที่นั้น อันต่างโดยประณีตและประณีต
|
|
48,0026,003,กว่าเป็นต้น ครอบคลุมโดยไม่เหลือเลย จริงอยู่ นิเทศนี้ครอบคลุมความ
|
|
48,0026,004,ไว้ไม่เหลือ เหมือนที่ว่า <B>เยเกจิ สงฺขารา</B> สังขารทั้งหลาย เหล่าใดเหล่าหนึ่ง
|
|
48,0026,005,[ ทุกอย่าง ] . บทว่า <B>มนโส ปิยา</B> ได้แก่ ที่ใจพึงรัก อธิบายว่า น่าพอใจ.
|
|
48,0026,006,ก็ในข้อนี้ ด้วยบทว่า <B>เอตาทิโส วณฺโณ</B> นี้ พระเถระแสดง
|
|
48,0026,007,วัณณสัมปทา ความถึงพร้อมแห่งวรรณะ อันนับเนื่องในอัตภาพของเทวดา
|
|
48,0026,008,นั้น ซึ่งมีความวิเศษที่กล่าวไว้แล้วในหนหลัง. ด้วยบทว่า <B>โภคา</B> นี้
|
|
48,0026,009,พระเถระแสดงความถึงพร้อมแห่งกามคุณ อันต่างโดยรูป เสียง กลิ่น
|
|
48,0026,010,รส โผฏฐัพพะ อันเป็นทิพย์ ซึ่งเป็นวัตถุเครื่องอุปโภคและบริโภค. ด้วย
|
|
48,0026,011,บทว่า <B>มนโส ปิยา</B> นี้ พระเถระแสดงความที่อารมณ์มีรูปเป็นต้น
|
|
48,0026,012,เหล่านั้น เป็นของน่าปรารถนา น่าใคร่ น่าพอใจ. แต่ด้วยบทว่า <B>อิธมิชฺฌติ</B>
|
|
48,0026,013,นี้ พระเถระแสดงความถึงพร้อมแห่งอายุ วรรณะ ยศ สุข และอธิปไตย
|
|
48,0026,014,อันเป็นทิพย์ ด้วย บทว่า <B>เยเกจิ มนโส ปิยา</B> นี้ ฐานะอันใด ๑๐ ประการ
|
|
48,0026,015,ที่มาในพระสูตรว่า ผู้นั้น ย่อมยึดไว้ได้ซึ่งเทพเหล่าอื่นด้วยฐานะ ๑๐
|
|
48,0026,016,คือ อายุทิพย์ วรรณทิพย์ ยศทิพย์ สุขทิพย์ อธิปไตยทิพย์ รูปทิพย์
|
|
48,0026,017,เสียงทิพย์ กลิ่นทิพย์ รสทิพย์ โผฏฐัพพทิพย์ พึงทราบว่า พระเถระ
|
|
48,0026,018,แสดงการรวบรวมฐานะอันนั้นไว้ในที่นี้ โดยไม่เหลือเลย.
|
|
48,0026,019,บทว่า <B>ปุจฺฉามิ</B> ได้แก่ ทำปัญหา อธิบายว่า ประสงค์จะรู้.
|
|
48,0026,020,รู้กันว่า พระเถระกล่าว ๓ คาถาว่า <B>เกน เต ตาทิโส วณฺโณ เกน เต
|
|
48,0026,021,อิทฺธมิชฺฌติ กิมกาสิ ปุญฺํ เกนาสิ เอวญฺชลิตานุภาวา</B> โดยถือเอากึศัพท์
|
|
|