|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
48,0015,001,<B>อาสวา เต ปทาลิตา</B> อุปธิกิเลสทั้งหลาย ท่านก็ก้าวล่วงเสียแล้ว อาสวะ
|
|
48,0015,002,ทั้งหลาย ท่านก็ทำลายได้แล้ว. มาในอรรถฉัฏฐีวิภัตติ ได้ในบาลีเป็นต้น
|
|
48,0015,003,ว่า <B>กินฺเต วตฺตํ กึ ปน พฺรหฺมจริยํ</B> อะไรเป็นวัตรของท่าน ก็อะไร
|
|
48,0015,004,เป็นพรหมจรรย์. ส่วนในที่นี้ เตศัพท์พึงเห็นว่าใช้ในอรรถฉัฏฐีวิภัตติ.
|
|
48,0015,005,อธิบายว่า ของท่าน.
|
|
48,0015,006,ในบทว่า <B>โสวณฺณมยํ</B> นี้ สุวัณณศัพท์มาในอรรถว่า ความถึง
|
|
48,0015,007,พร้อมแห่งผิว ได้ในบาลีเป็นต้นอย่างนี้ว่า <B>สุวณฺเณ ทุพฺพณฺเณ สุคเต
|
|
48,0015,008,ทุคฺคเต</B> ผิวสวย ผิวทราม มั่งมี ยากจน และว่า <B>สุวณฺณตา สุสรตา</B>
|
|
48,0015,009,ความมีผิวสวย ความมีเสียงไพเราะ. มาในอรรถว่า ครุฑ ได้ในบาลี
|
|
48,0015,010,เป็นต้นว่า <B>กากํ สุวณฺณา ปริวารยนฺติ</B> ครุฑทั้งหลายห้อมล้อม กา.
|
|
48,0015,011,มาในอรรถว่า ทอง ได้ในบาลีเป็นต้นว่า <B>สุวณฺณวณฺโณ กาญฺจน-
|
|
48,0015,012,สนฺนิภตโจ</B> มีผิวดังทอง มีหนังเปล่งปลั่งดังทอง. แม้ในที่นี้ สุวัณณ
|
|
48,0015,013,ศัพท์พึงเห็นว่าใช้ในอรรถว่า ทองอย่างเดียว. จริงอยู่ วิมานตั่งนั้น
|
|
48,0015,014,ท่านเรียกว่า ทอง เพราะมีสีงาม เหตุมีสีเสมอพระพุทธะทั้งหลาย.
|
|
48,0015,015,ทองนั่นแล ชื่อว่า โสวัณณะ เหมือนคำว่า <B>เวกตะ</B> และ <B>เวสมะ [ วิกตสฺส
|
|
48,0015,016,ภาโว เวกตํ วิสมสฺส ภาโว เวสมํ].</B> ส่วนมยศัพท์มาในอรรถว่า
|
|
48,0015,017,<B>อสฺม</B> มี เป็น ได้ในบาลีเป็นต้นว่า <B>อนุญฺาตปฏิญฺาตา เตวิชฺชา
|
|
48,0015,018,มยมสฺมุโภ [มยํ อสฺม อุโภ]</B> เราทั้งสองมีวิชชา ๓ เป็นผู้ปฏิญญา
|
|
48,0015,019,ตามที่พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงรับรอง. มาในอรรถว่า บัญญัติรับรู้กัน
|
|
48,0015,020,ได้ในบาลีนี้ว่า <B>มยํ นิสฺสาย เหมาย ชาตมณฺโฑ ทรี สุภา</B> ซอกเขา
|
|
48,0015,021,เกิดสดใสเป็นทอง งดงาม เพราะอาศัยหิน [ ศิลา ]. มาในอรรถว่า
|
|
48,0015,022,บังเกิด ได้ในบาลีนี้ว่า <B>มโนมยา ปีติภกฺขา สยมฺปภา</B> เกิดโดยใจ
|
|
|