|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
45,0045,001,ว่าธรรมที่จะต้องฟังย่อมเป็นฐานให้บุคคลผู้ทำเป็นไปด้วยอำนาจ กิริยา คือ
|
|
45,0045,002,การฟัง ด้วยคำมีประมาณเท่านี้ เป็นอันท่านแสดงถึงการตกลงใจในการรับ
|
|
45,0045,003,อารมณ์ของผู้ทำผู้พรั่งพร้อมด้วยกิริยา คือ การฟังนั้น ด้วยจิตสันดานที่เป็น
|
|
45,0045,004,ไปแล้ว โดยประการต่าง ๆ.
|
|
45,0045,005,อีกประการหนึ่ง บทว่า <B>อิติ</B> แสดงถึงกิจของบุคคล อธิบายว่า
|
|
45,0045,006,จริงอยู่ ธรรมดาว่ากิจของบุคคลเป็นอันพระอานนทเถระ แสดงแล้วด้วยอิติ
|
|
45,0045,007,ศัพท์ที่มีภาวะประกาศอรรถว่า นิทัสสนะ หรือว่า อวธารณะ ที่มีอาการแห่ง
|
|
45,0045,008,ธรรมทั้งหลายที่ได้ฟังมาแล้ว อันตนรับไว้แล้ว เพราะการทรงจำอาการนั้น
|
|
45,0045,009,เป็นต้นไว้ เป็นความขวนขวายในธรรม ด้วยการยึดมั่น ในโวหารว่าบุคคล.
|
|
45,0045,010,บทว่า <B>สุตํ</B> แสดงถึงกิจของวิญญาณ. อธิบายว่า จริงอยู่ กิริยา คือ การฟัง
|
|
45,0045,011,แม้ของผู้มีวาทะว่า บุคคลจะไม่เพ่งถึงวิญญาณก็หามิได้. บทว่า <B>เม</B> แสดง
|
|
45,0045,012,ถึงบุคคลผู้ประกอบด้วยกิจทั้งสอง. อธิบายว่า จริงอยู่ ก็ความเป็นไปของศัพท์
|
|
45,0045,013,ว่า เม มีธรรมอันวิเศษที่ไม่ฟังมาแล้วเป็นอารมณ์ โดยส่วนเดียวเท่านั้น
|
|
45,0045,014,และกิจของวิญญาณก็พึงตั้งลงในอารมณ์นั้นนั่นแล. แต่ในที่นี้มีความย่อดังนี้
|
|
45,0045,015,ว่า อันข้าพเจ้า(พระอานนทเถระ) คือ อันบุคคลผู้พรั่งพร้อมด้วยวิญญาณที่มี
|
|
45,0045,016,หน้าที่ฟัง ได้ฟังมาแล้ว ด้วยสามารถแห่งวิญญาณที่ได้โวหารว่า ผู้มีหน้า
|
|
45,0045,017,ที่ฟัง.
|
|
45,0045,018,อนึ่ง บทว่า <B>อิติ</B> และบทว่า <B>เม</B> เป็นอวิชชมานบัญญัติด้วยอำนาจ
|
|
45,0045,019,สัจฉิกัฏฐปรมัตถ์ แห่งความหมายที่แจ่มแจ้งและความหมายที่ยอดยิ่ง เพราะ
|
|
45,0045,020,ว่า ความหมายที่จะพึงเข้าใจได้ด้วยเสียงทั้งหมดก็ดี บัญญัติทั้งมวลเพราะจะ
|
|
45,0045,021,ต้องปฏิบัติตามแนวทางแห่งการบัญญัตินั่นเองก็ดี ย่อมมีความไม่ขัดแย้งกันใน
|
|
45,0045,022,บัญญัติทั้ง ๖ นั่นแหละ มีวิชชมานบัญญัติเป็นต้น เพราะเหตุนั้น ความหมาย
|
|
45,0045,023,อันใดเป็นความหมายที่ไม่มีอยู่จริง เหมือนมายากลและพยับแดดเป็นต้น และ
|
|
|