|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
45,0008,001,ที่บอกความหมาย. จริงอยู่ นิบาตเหล่านั้น ช่วยขยายความที่จะพึงกล่าวให้
|
|
45,0008,002,ชัดขึ้น.
|
|
45,0008,003,<B>เอตํ</B> ศัพท์ในบทว่า <B>เอตํ</B> นี้ มาในอรรถว่า ประจักษ์ชัดในที่ใกล้ชิด
|
|
45,0008,004,ตามที่กล่าวแล้ว ในประโยคมีอาทิว่า
|
|
45,0008,005,<B>ก็บุคคลใดถึงพระพุทธเจ้า พระธรรม
|
|
45,0008,006,และพระสงฆ์ว่าเป็นสรณะ เห็นอริยสัจ ๔
|
|
45,0008,007,คือ ทุกข์ เหตุให้ทุกข์เกิด ความพ้นทุกข์
|
|
45,0008,008,และอริยมรรคมีองค์ ๘ อันมีปกติยังผู้ปฏิบัติ
|
|
45,0008,009,ให้ถึงความพ้นทุกข์ ด้วยปัญญาอันชอบ
|
|
45,0008,010,การถึงสรณะของบุคคลนั้นนั่นแล เป็นที่
|
|
45,0008,011,พึงอันเกษม นั่นเป็นที่พึ่งอันสูงสุด เพราะ
|
|
45,0008,012,ว่าบุคคลอาศัยสรณะนั่นแล้ว ย่อมพ้นจาก
|
|
45,0008,013,ทุกข์ทั้งหมด.</B>
|
|
45,0008,014,แต่ที่มาในอรรถว่า ประจักษ์ชัดในที่ใกล้ชิดที่กำลังกล่าวถึงอยู่ ใน
|
|
45,0008,015,ประโยคมีอาทิว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็แลปุถุชนเมื่อกล่าวสรรเสริญคุณของพระ
|
|
45,0008,016,ตถาคตพึงกล่าวด้วยคำสรรเสริญ คำสรรเสริญนั่นเป็นเพียงเล็กน้อย เพียงขึ้นต่ำ
|
|
45,0008,017,เพียงแค่ศีล. อนึ่ง ในที่นี้ <B>เอตํ</B> ศัพท์พึงเห็นว่า ใช้ในความหมายว่า ประจักษ์
|
|
45,0008,018,ชัดในที่ใกล้ชิดที่กำลังกล่าวถึงอยู่นั่นแล. เพราะว่า สูตรที่กำลังกล่าวถึง ด้วย
|
|
45,0008,019,สามารถแห่งการพิจารณา พระอานนท์เถระผู้ธรรมภัณฑาคาริก ดำรงอยู่แล้ว
|
|
45,0008,020,ในวุฒิธรรมกล่าวไว้ในครั้งแรกว่า <B>เลตํ</B> ดังนี้.
|
|
45,0008,021,<H1>อธิบายคำว่า ภควา</H1>
|
|
45,0008,022,ในบทว่า <B>ภควตา</B> นี้ พึงทราบอธิบายดังนี้ บทว่า <B>ภควา</B> เป็น
|
|
45,0008,023,คำเรียกบุคคลผู้เป็นที่เคารพ. เป็นความจริง คนทั้งหลายในโลกมักเรียกบุคคล
|
|
|