|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
38,0043,001,ที่เขาพึงสั่งสอนได้ง่าย. บทว่า <B>ขโม</B> ได้แก่แม้ถูกว่ากล่าวด้วยคำหยาบคาย
|
|
38,0043,002,กักขฬะ ก็ทนได้ ไม่โกรธ. บทว่า <B>ปทกฺขิณคฺคาหี อนุสาสนึ</B> ความว่า
|
|
38,0043,003,ไม่การทำเหมือนบางคน ที่เมื่อถูกท่านโอวาทก็รับเอาข้างซ้าย [ไม่เคารพ]
|
|
38,0043,004,ตอบโต้หรือไม่ฟังเดินไปเสีย รับเอาเบื้องขวา [คือโดยเคารพ] ด้วยกล่าว
|
|
38,0043,005,ว่า โอวาทพร่ำสอนเถิดท่าน เมื่อท่านไม่โอวาท คนอื่นใครเล่าจักโอวาท
|
|
38,0043,006,ดังนี้.
|
|
38,0043,007,บทว่า <B>อุจฺจาวจานิ</B> แปลว่า สูงต่ำ. บทว่า <B>กึกรณียานิ</B> ได้แก่
|
|
38,0043,008,กิจกรรมที่ถามอย่างนี้ว่า ผมจะทำอะไร แล้วกระทำ. บรรดากิจกรรมสูงต่ำ
|
|
38,0043,009,ชื่อว่ากิจกรรมสูง ได้แก่ กิจกรรม เช่นว่า ทำจีวร ย้อมจีวร โบกปูน
|
|
38,0043,010,พระเจดีย์ กิจกรรมที่จะพึงทำในโรงอุโบสถ เรือนพระเจดีย์ และเรือน
|
|
38,0043,011,โพธิ์ อย่างนี้เป็นต้น . ชื่อว่ากิจกรรมต่ำ ได้แก่กิจกรรมเล็กน้อย เช่น
|
|
38,0043,012,ล้างบาตร ทาน้ำมันเป็นต้น . บทว่า <B>ตตฺรุปายาย</B> ได้แก่อัน ดำเนินไปใน
|
|
38,0043,013,กิจกรรมนั้น. บทว่า <B>อลํ กาตุํ</B> แปลว่า เป็นผู้สามารถทำได้เอง. บทว่า
|
|
38,0043,014,<B>อลํ สํวิธาตุํ</B> แปลว่า ผู้สามารถจัดการได้.
|
|
38,0043,015,ภิกษุชื่อว่าธรรมกามะ เพราะมีความรักใคร่ธรรม อธิบายว่า
|
|
38,0043,016,ย่อมรักพระไตรปิฎกพุทธวจนะ. บทว่า <B>ปิยสมุทาหาโร</B> ความว่า เมื่อ
|
|
38,0043,017,ผู้อื่นกล่าวอยู่ ก็ฟังโดยเคารพ ทั้งตัวเองก็ใคร่จะแสดงแก่ผู้อื่น. ใน
|
|
38,0043,018,คำว่า <B>อภิธมฺเม อภิวินเย</B> นี้ พึงทราบ ๔ หมวด คือ ธรรม อภิธรรม
|
|
38,0043,019,วินัย อภิวินัย. ใน ๔ หมวดนั้น ชื่อว่า <B>ธรรม</B> ได้แก่พระสุตตันตปิฎก
|
|
38,0043,020,ชื่อว่า <B>อภิธรรม</B> ได้แก่ปกรณ์ทั้ง ๗. ชื่อว่า <B>วินัย</B> ได้แก่วิภังค์ทั้งสอง
|
|
38,0043,021,[ภิกขุวิภังค์ ภิกขุนีวิภังค์] ชื่อว่า <B>อภิวินัย</B> ได้แก่ขันธกะและบริวาร.
|
|
38,0043,022,อีกนัยหนึ่ง ทั้งสุตตันตปิฎก ทั้งอภิธัมมปิฎก ชื่อว่าธรรมทั้งนั้น. มรรคผล
|
|
|