tripitaka-mbu / 35 /350003.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
35,0003,001,<H1>อรรถกถาอังคุตตรนิกาย ชื่อ มโนรถปูรณี</H1>
35,0003,002,<H2>จตุกนิบาตวรรณนา</H2>
35,0003,003,<H1>ปฐมปัณณาสก์</H1>
35,0003,004,<H1>ภัณฑคามวรรควรรณนาที่ ๑</H1>
35,0003,005,<h1> อรรถกถาอนุพุทธสูตร</h1>
35,0003,006,พึงทราบวินิจฉัยในอนุพุทธสูตรที่ ๑ แห่งจตุกนิบาต ดังต่อไปนี้ :-
35,0003,007,บทว่า <B>อนนุโพธา</B> ได้แก่ เพราะไม่รู้ เพราะไม่ทราบ บทว่า
35,0003,008,<B>อปฺปฏิเวธา</B> ได้แก่ เพราะไม่แทงตลอด คือ เพราะไม่ทำให้ประจักษ์ บทว่า
35,0003,009,<B>ทีฆมทฺธานํ</B> แปลว่า สิ้นกาลนาน. บทว่า <B>สนฺธาวิตํ</B> ได้แก่ แล่นไป
35,0003,010,โดยไปจากภพสู่ภพ. บทว่า <B>สํสริตํ</B> ได้แก่ ท่องเที่ยวไป โดยไปมาบ่อย ๆ.
35,0003,011,บทว่า <B>มมญฺเจว ตุมฺหากญฺจ</B> แปลว่า อันเราและอันท่านทั้งหลาย. อีก
35,0003,012,อย่างหนึ่ง ในบทว่า <B>สนฺธาวิตํ สํสริตํ</B> นี้ พึงทราบเนื้อความอย่างนี้ว่า
35,0003,013,การแล่นไป การท่องเที่ยวไป ได้มีแล้วทั้งแก่เราทั้งแก่ท่านทั้งหลาย บทว่า
35,0003,014,<B>อริยสฺส</B> ได้แก่ไม่มีโทษ. ก็ธรรม ๓ เหล่านี้ คือ ศีล สมาธิ และปัญญา พึง
35,0003,015,ทาบว่า สัมปยุตตด้วยมรรคและผลแล. ผลเท่านั้น ท่านแสดงโดยชื่อว่า วิมุตติ.
35,0003,016,บทว่า <B>ภวตณฺหา</B> ได้แก่ ตัณหาในภพทั้งหลาย. บทว่า <B>ภวเนตฺติ</B> ได้แก่
35,0003,017,ตัณหา ดุจเชือกผูกสัตว์ไว้ในภพ. บทนั้นเป็นชื่อของตัณหานั่นแล จริงอยู่
35,0003,018,ตัณหานั้นนำสัตว์ทั้งหลายไปสู่ภพนั้น ๆ เหมือนผูกคอโค เพราะฉะนั้น ตัณหา
35,0003,019,นั้น ท่านจึงเรียกว่า <B>ภวเนตฺติ.</B> บทว่า <B>อนุตฺตรา</B> ได้แก่ โลกุตระ บทว่า
35,0003,020,<B>ทุกฺขสฺสนฺตกโร</B> ได้แก่ ทรงทำที่สุดแห่งวัฏทุกข์. บทว่า <B>จกฺขุมา</B> ได้แก่
35,0003,021,ทรงมีจักษุด้วยจักษุทั้ง ๕. บทว่า <B>ปรินิพฺพุโต</B> ได้แก่ ปรินิพพานแล้วด้วย