|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
32,0015,001,อีกนัยหนึ่ง เพราะเหตุที่กล่าวมาแล้วว่า ศัพท์ว่า <B>เอวํ</B> แสดงอาการ
|
|
32,0015,002,ต่าง ๆ ของจิตสันดาน ที่ถือเอาอรรถและพยัญชนะต่าง ๆ เพราะ
|
|
32,0015,003,จิตตสันดานเป็นไปต่าง ๆ กัน และจิตตสันดานนั้น ก็คืออาการอันงาม
|
|
32,0015,004,อย่างนี้ ย่อมไม่มีแก่ผู้ไม่ตั้งตนไว้ชอบ หรือแก่ผู้ไม่กระทำบุญไว้ใน
|
|
32,0015,005,ปางก่อน ฉะนั้น ด้วยคำว่า <B>เอวํ</B> นี้ท่านพระอานนท์แสดงสมบัติ คือ
|
|
32,0015,006,จักรธรรม ๒ ข้อหลังของตนด้วยอาการอันงาม แสดงสมบัติ คือ
|
|
32,0015,007,จักรธรรม ๒ ข้อแรกโดยประกอบการฟังด้วยบทว่า <B>สุตํ.</B> เพราะผู้อยู่
|
|
32,0015,008,ในประเทศอันไม่สมควร และผู้เว้นจากการเข้าไปคบหาสัตบุรุษ
|
|
32,0015,009,การฟังก็ไม่มี ดังนั้น ท่านพระอานนท์นั้น จึงสำเร็จอาสยสุทธิ
|
|
32,0015,010,ความหมดจดแห่งอาสยะ เพราะความสำเร็จแห่งจักรธรรม ๒ ข้อหลัง
|
|
32,0015,011,สำเร็จปโยคสุทธิ ความหมดจดแห่งการประกอบ เพราะความสำเร็จ
|
|
32,0015,012,แห่งจักรธรรม ๒ ข้อข้างต้น และท่านพระอานนท์ สำเร็จความ
|
|
32,0015,013,เชี่ยวชาญในอาคม (นิกายทั้ง ๕ ) ก็เพราะอาสยสุทธิ ความหมดจด
|
|
32,0015,014,แห่งอาสยะนั้น. สำเร็จความเชี่ยวชาญในอธิคม (มรรคผล) ก็เพราะ
|
|
32,0015,015,ปโยคสุทธิ ความหมดจดแห่งประโยค ดังนั้น คำของพระอานนท์ ผู้
|
|
32,0015,016,หมดจดด้วยประโยค การประกอบและ อาสยะอัธยาศัย ผู้ถึงพร้อม
|
|
32,0015,017,ด้วยอาคมและอธิคม จึงควรจะเป็นเบื้องต้น (ตัวนำ) แห่งพระดำรัส
|
|
32,0015,018,ของพระผู้มีพระภาคเจ้า เหมือนอรุณขึ้นเป็นเบื้องต้นของอาทิตย์อุทัย
|
|
32,0015,019,และเหมือนโยนิโสมนสิการ เป็นเบื้องต้นแห่งกุศลกรรมฉะนั้น เพราะ
|
|
32,0015,020,ฉะนั้น ท่านพระอานนท์เมื่อตั้งนิทานวจนะ คำเริ่มต้นในฐานที่ควร
|
|
32,0015,021,จึงกล่าวคำเป็นต้นว่า <B>เอวมฺเม สุตํ</B> ดังนี้.
|
|
32,0015,022,อีกนัยหนึ่ง ท่านพระอานนท์แสดงสภาวะแห่งสมบัติ คือ
|
|
|