|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
31,0050,001,ก็พึงทราบใจความตามนี้. ส่วนในคำว่า <B>ทางกาย หรือทางใจ</B> นี้ ท่าน
|
|
31,0050,002,กล่าวว่าทางกายด้วยอำนาจการเกิดขึ้น เพราะทำกายประสาททั้ง ๔ มีตาเป็นต้น
|
|
31,0050,003,ให้เป็นที่ตั้ง. ส่วนที่ชื่อว่าอทุกขมสุขที่มีกายประสาทเป็นที่ตั้ง ไม่มี.
|
|
31,0050,004,<I>จบอรรถกถาปฐมวิภังคสูตร</I>
|
|
31,0050,005,<H1>๗.ทุติยวิภังคสูตร*</H1>
|
|
31,0050,006,<H1>ว่าด้วยอินทรีย์ ๕ เป็นสุขทุกข์และอทุกขมสุข</H1>
|
|
31,0050,007,[๙๓๑] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย <B>อินทรีย์ ๕</B> ประการนี้ ๕ ประการ
|
|
31,0050,008,เป็นไฉน คือ สุขินทรีย์... อุเบกขินทรีย์.
|
|
31,0050,009,[๙๓๒] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็สุขินทรีย์เป็นไฉน ความสุขทาง
|
|
31,0050,010,กาย ...นี้ เรียกว่า สุขินทรีย์.
|
|
31,0050,011,[๙๓๓] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็ทุกขินทรีย์เป็นไฉน ความทุกข์
|
|
31,0050,012,ทางกาย. . .นี้เรียกว่า ทุกขินทรีย์.
|
|
31,0050,013,[๙๓๔] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็โสมนัสสินทรีย์เป็นไฉน ความสุข
|
|
31,0050,014,ทางใจ ...นี้ เรียกว่า โสมนัสสินทรีย์.
|
|
31,0050,015,[๙๓๕] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็โทมนัสสินทรีย์เป็นไฉน ความทุกข์
|
|
31,0050,016,ทางใจ ...นี้ เรียกว่า โทมนัสสินทรีย์.
|
|
31,0050,017,[๙๓๖] ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย ก็อุเบกขินทรีย์เป็นไฉน เวทนาอัน
|
|
31,0050,018,สำราญก็ไม่ใช่ ไม่ใช่ความสำราญก็ไม่ใช่ ทางกายหรือทางใจ นี้เรียกว่า
|
|
31,0050,019,อุเบกขินทรีย์.
|
|
|