|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
31,0018,001,<H1>อรรถกถาปฐมสังขิตตสูตร</H1>
|
|
31,0018,002,<B>ปฐมสังขิตตสูตรที่ ๒.</B> คำว่า <B>ตโต</B> คือ พึงทราบความคละ
|
|
31,0018,003,ปนกันด้วยอำนาจวิปัสสนา มรรค และผล. จริงอยู่ ปัญญินทรีย์ ที่สมบูรณ์
|
|
31,0018,004,เต็มที่แล้ว ย่อมชื่อว่าเป็นวิปัสสนินทรีย์ของอรหัตมรรค. คำว่า <B>ตโต</B>
|
|
31,0018,005,<B>มุทุตเรหิ</B> คือ ที่อ่อนกว่าวิปัสสนินทรีย์ของอรหัตมรรคเหล่านั้น ชื่อว่าเป็น
|
|
31,0018,006,วิปัสสนินทรีย์ของอนาคามิมรรค. ที่อ่อนกว่านั้น ก็เป็นของสกทาคามิมรรค.
|
|
31,0018,007,ที่อ่อนกว่านั้น ชื่อว่า เป็นวิปัสสนินทรีย์ของโสดาปัตติมรรค. อ่อนกว่า
|
|
31,0018,008,นั้น ก็เป็นของธัมมานุสาริมรรค ที่อ่อนกว่านั้น ชื่อว่า เป็นวิปัสสนินทรีย์
|
|
31,0018,009,ของสัทธานุสาริมรรค. ปัญญินทรีย์ที่สมบูรณ์เต็มที่อย่างนั้น ชื่อว่า เป็น
|
|
31,0018,010,อินทรีย์ของอรหัตมรรคและอรหัตผล. ที่อ่อนกว่านั้น ชื่อว่า เป็นอินทรีย์
|
|
31,0018,011,ของอนาคามิมรรค สกทาคามิมรรคและโสดาปัตติมรรค. ที่อ่อนกว่านั้น ก็
|
|
31,0018,012,เป็นของธัมมานุสาริมรรค. ที่อ่อนกว่านั้น ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ของสัทธา-
|
|
31,0018,013,นุสาริมรรค. อินทรีย์ทั้งห้า ที่สมบูรณ์เต็มที่ ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ของ
|
|
31,0018,014,อรหัตผล. ที่อ่อนกว่านั้น ก็เป็นของอนาคามิผล. ที่อ่อนกว่านั้น ก็เป็นของ
|
|
31,0018,015,สกทาคามิผล. ที่อ่อนกว่านั้น ชื่อว่า เป็นอินทรีย์ของโสดาปัตติผล.
|
|
31,0018,016,ส่วนธัมมานุสารีและสัทธานุสารี แม้ทั้งสอง ก็คือบุคคลผู้ดำรงอยู่ในโสดาปัตติ
|
|
31,0018,017,มรรค ด้วยอำนาจแห่งบุคคลผู้ดำรงอยู่ในมรรคแล้ว จะทราบความแตกต่าง
|
|
31,0018,018,ของบุคคลทั้งสองนั้น ไม่ได้ เพราะด้วยการบรรลุบ้าง ด้วยมรรคบ้าง สัทธานุ
|
|
31,0018,019,สารีบุคคล ที่กำลังให้เรียนอุเทศ สอบถามอยู่ ย่อมจะบรรลุมรรคโดยลำดับ.
|
|
31,0018,020,ธัมมานุสารีบุคคล ย่อมบรรลุมรรคด้วยการฟังเพียงครั้งเดียว หรือสองครั้ง
|
|
31,0018,021,เท่านั้น พึงเข้าใจความแตกต่างในการบรรลุของธัมมานุสารีบุคคลและสัทธานุ-
|
|
|