|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
23,0037,001,ไม่สุก. บทว่า <B>อามกมตฺเต</B> แปลว่า ในภาชนะดิบ คือ ยังไม่แห้งดี. แท้จริง
|
|
23,0037,002,ช่างหม้อ ค่อย ๆ เอามือทั้งสองประคองภาชนะดิบ ที่ยังไม่แห้งดี ยังไม่สุก
|
|
23,0037,003,ด้วยคิดว่า อย่าแตกเลย. ขยายความว่า เราจักไม่ปฏิบัติในเธอทั้งหลาย
|
|
23,0037,004,เหมือนช่างหม้อปฏิบัติในภาชนะดิบนั้น ด้วยประการฉะนี้. บทว่า นิคฺคยฺห
|
|
23,0037,005,<B>นิคฺคยฺห</B> ความว่า เราจักไม่สั่งสอนหนเดียว แล้วนิ่งเสีย แต่จะตำหนิแล้ว
|
|
23,0037,006,แล้วสั่งสอนคือพร่ำสอนบ่อย ๆ. บทว่า <B>ปเวยฺห ปเวยฺห</B> แปลว่า เราจักยก
|
|
23,0037,007,ย่อง จักยกย่อง. เปรียบเหมือนช่างหม้อ คัดภาชนะที่เสีย ๆ ในภาชนะที่สุก
|
|
23,0037,008,ออกรวมกองไว้ ทุบ ๆ คือเอาแต่ส่วนที่ดีเท่านั้น ฉัน ใด แม้เราก็ฉันนั้น
|
|
23,0037,009,จักสนับสนุนยกย่อง กล่าวสอนตักเตือน พร่ำสอนบ่อย ๆ . บทว่า <B>โย สาโร
|
|
23,0037,010,โส สฺสต</B>ิ ความว่า บรรดาเธอทั้งหลายที่เรากล่าวสอนอยู่ ผู้ใดมีแก่นสาร
|
|
23,0037,011,คือ มรรคผล ผู้นั้น จักดำรงอยู่ได้ อีกอย่างหนึ่ง แม้โลกิยคุณ ก็ประสงค์
|
|
23,0037,012,เอาว่า เป็นแก่นสารในที่นี้เหมือนกัน. คำที่เหลือในบททั้งปวง ง่ายทั้งนั้นแล.
|
|
23,0037,013,<I>จบอรรถกถามหาสุญญตาสูตรที่ ๒</I>
|
|
|