|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
23,0036,001,เป็นวิบากกว่า และเป็นไปเพื่อความตกต่ำ. แท้จริงการบวชภายนอกพระ
|
|
23,0036,002,ศาสนามีลาภน้อย และในการบวชนอกศาสนานั้น ไม่มีทางจะให้เกิดคุณใหญ่
|
|
23,0036,003,หลวงได้เลย จะมีก็เพียงแต่สมาบัติ ๘ อภิญญา ๕ เท่านั้น . เปรียบเหมือนผู้
|
|
23,0036,004,ที่พลัดตกจากหลังลา ย่อมไม่มีทุกข์มาก จะมีก็เพียงแต่ตัวเปื้อนฝุ่นเท่านั้น
|
|
23,0036,005,ฉันใด ในลัทธินอกศาสนาก็ฉันนั้น จะเสื่อมก็เพียงโลกิยคุณเท่านั้น ฉะนั้น
|
|
23,0036,006,อุปัททวะสองอย่างข้างต้น ท่านจึงไม่กล่าวไว้อย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้. แต่
|
|
23,0036,007,การบวชในพระศาสนามีลาภมาก และในการบวชในพระศาสนานั้น มีคุณอัน
|
|
23,0036,008,จะพึงได้บรรลุใหญ่หลวงนัก คือมรรค ๔ ผล นิพพาน ๑. ขัตติยกุมาร
|
|
23,0036,009,ผู้อุภโตสุชาต ประทับบนคอช้าง เสด็จเลียบพระนคร เมื่อตกจากคอช้าง
|
|
23,0036,010,ย่อมถึงทุกข์มาก ฉันใด ผู้ที่เสื่อมจากพระศาสนาก็ฉันนั้น ย่อมเสื่อมจาก
|
|
23,0036,011,โลกุตตรคุณ ๙ ประการฉะนี้. เพราะเหตุนั้น ท่านจึงกล่าวอุปัททวะของ
|
|
23,0036,012,ผู้ประพฤติพรหมจรรย์ ไว้อย่างนี้.
|
|
23,0036,013,บทว่า <B>ตสฺมา</B> ความว่า เพราะอุปัททวะของผู้ประพฤติพรหมจรรย์
|
|
23,0036,014,มีทุกข์เป็นวิบากมากกว่า อุปัททวะที่เหลือ หรือเพราะข้อปฏิบัติของผู้เป็นศัตรู
|
|
23,0036,015,ย่อมเป็นไปเพื่อสิ่งไม่เป็นประโยชน์ เพื่อทุกข์ตลอดกาลนาน ข้อปฏิบัติของผู้
|
|
23,0036,016,เป็นมิตร ย่อมเป็นไปเพื่อประโยชน์ ฉะนั้น พึงประกอบการเรียกร้องด้วย
|
|
23,0036,017,ความเป็นมิตร และไม่ใช่เรียกร้องด้วยความเป็นศัตรู ด้วยอรรถทั้งก่อนแล
|
|
23,0036,018,หลักอย่างนี้ ด้วยประการฉะนี้ บทว่า <B>มิตฺตวตฺตาย</B> แปลว่า ด้วยการปฏิบัติ
|
|
23,0036,019,ฉันมิตร. บทว่า <B>สปตฺตวตฺตาย</B> แปลว่า ด้วยการปฏิบัติอย่างศัตรู. บทว่า
|
|
23,0036,020,<B>โอกฺกมฺม จ สตฺถุ สาสเน</B> ความว่า เมื่อจงใจล่วงอาบัติ แม้เพียงทุกกฏ
|
|
23,0036,021,และทุพภาษิต ชื่อว่า ประพฤติหลีกเลี่ยง เมื่อไม่จงใจล่วงเช่นนั้น ชื่อว่า
|
|
23,0036,022,ไม่ประพฤติหลีกเลี่ยง. บทว่า <B>น เต อหํ อานนฺท ตถา ปรกฺกมิสฺสามิ</B>
|
|
23,0036,023,ความว่า เราไม่ปฏิบัติในเธอทั้งหลายอย่างนั้น. บทว่า <B>อามเก</B> แปลว่า ยัง
|
|
|