|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
23,0034,001,บทว่า <B>โส ปหียติ</B> ความว่า ละมานะว่า มีในรูป ละฉันทะว่ามีในรูป
|
|
23,0034,002,ละอนุสัยว่า มีในรูป. ความรู้ชัดในเวทนาเป็นต้น พึงทราบโดยนัยดังกล่าว
|
|
23,0034,003,แล้วอย่างนั้นนั่นและ พระผู้มีพระภาคเจ้า ตรัสว่า <B>อิเม โข เต อานนฺท
|
|
23,0034,004,ธมฺมา</B> ดังนี้ ทรงหมายถึงธรรมคือสมถวิปัสสนา มรรคและผลที่ตรัสแล้วใน
|
|
23,0034,005,หนหลัง. บทว่า <B>กุสลายตฺติกา</B> แปลว่า มาแต่กุศล. ความจริง กุศลธรรม
|
|
23,0034,006,ทั้งหลาย เป็นทั้งกุศล เป็นทั้งธรรมที่เนื่องมาแต่กุศล อากิญจัญญายตนฌาน
|
|
23,0034,007,เป็นกุศล เนวสัญญานาสัญญายตนฌาน เป็นทั้งกุศล เป็นทั้งธรรมที่เนื่องมา
|
|
23,0034,008,แต่กุศล เนวสัญญานาสัญญานฌานเป็นกุศล โสดาปัตติมรรคเป็นทั้ง
|
|
23,0034,009,กุศล เป็นทั้งธรรมที่เนื่องมาแต่กุศล ฯลฯ อนาคามิมรรค เป็นกุศล อรหัตต
|
|
23,0034,010,มรรค เป็นทั้งกุศล เป็นทั้งธรรมที่เนื่องมาแต่กุศล ปฐมฌานก็จัดเป็นกุศล
|
|
23,0034,011,เหมือนกัน ธรรมที่สัมปยุตด้วยปฐมฌานนั้น เป็นทั้งกุศล เป็นทั้งธรรมที่
|
|
23,0034,012,เนื่องมาแต่กุศล ฯลฯ อรหัตตมรรค เป็นกุศล ธรรมที่สัมปยุตด้วยอรหัตต
|
|
23,0034,013,มรรคนั้น เป็นทั้งกุศล เป็นทั้งธรรมที่เนื่องมาแต่กุศล บทว่า <B>อริยา</B> แปลว่า
|
|
23,0034,014,ไม่มีกิเลส คือบริสุทธิ์. บทว่า <B>โลกุตฺตรา</B> แปลว่า ยอดเยี่ยม คือบริสุทธิ์
|
|
23,0034,015,ในโลก. บทว่า <B>อนวกฺกนฺตา ปาปิมตา</B> แปลว่า อันมารผู้มีบาปหยั่งลงไม่
|
|
23,0034,016,ได้. ก็มารย่อมไม่เห็นจิตของภิกษุ ผู้นั่งเข้าสมาบัติ ๘ มีวิปัสสนาเป็นบาท
|
|
23,0034,017,คือไม่อาจเพื่อจะรู้ว่าจิตของภิกษุนั้นอาศัยอารมณ์ชื่อนี้เป็นไป เพราะฉะนั้น
|
|
23,0034,018,จึงตรัสว่า <B>อนุวกฺกนฺตา.</B> เพราะเหตุไร พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงตรัสบทนี้ว่า
|
|
23,0034,019,<B>ตํ กึ มญฺสิ.</B> ความจริงในคณะก็มีอานิสงส์อย่างหนึ่ง เพื่อจะทรงแสดง
|
|
23,0034,020,อานิสงส์นั้น จึงตรัสคำนี้. บทว่า <B>อนุพนฺธิตุํ</B> แปลว่า ติดตามไป คือแวด
|
|
23,0034,021,ล้อม. ในบทว่า <B>น โข อานนฺท</B> นี้ มีวินิจฉัยว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
|
|
23,0034,022,พระอริยสาวกผู้ได้สดับ แล้ว แต่สมเด็จพระผู้มีพระภาคเจ้า ย่อมละอกุศล
|
|
23,0034,023,เจริญกุศล ละธรรมที่มีโทษ เจริญธรรมที่ไม่มีโทษ บริหารตนให้บริสุทธิ์
|
|
|