|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
23,0012,001,เหยียดออกแล้ว ขูดจนเกลี้ยงเกลา. แท้จริงหนังโคที่เขาใช้ขอไม่ถึงร้อยเล่ม
|
|
23,0012,002,ขูดออก ยังไม่เกลี้ยงเกลา ใช้ขอถึงร้อยเล่มย่อมเกลี้ยงเกลา เหมือนพื้นกลอง
|
|
23,0012,003,เพราะฉะนั้นจึงตรัสอย่างนี้. บทว่า <B>อุกฺกุลวิกุลํ</B> แปลว่า สูง ๆ ต่ำ ๆ คือ
|
|
23,0012,004,เป็นที่ดอนบ้าง เป็นที่ลุ่มบ้าง. บทว่า <B>นทีวิทุคฺคํ</B> ได้แก่ แม่น้ำและที่ซึ่ง
|
|
23,0012,005,เดินไม่สะดวก บทว่า <B>ปฐวีสญฺํ ปฏจฺจ มนสิกโรติ เอกตฺตํ</B> ความว่า
|
|
23,0012,006,ใส่ใจสัญญาอย่างเดียวที่อาศัยกันเกิดขึ้นในปฐวีกสิณ. บทว่า <B>ทรถมตฺตา</B>
|
|
23,0012,007,ความว่า จำเดิมแต่นี้ พึงทราบความกระวนกระวาย โดยความกระวนกระวาย
|
|
23,0012,008,ที่เป็นไปในวาระทั้งปวง. บทว่า <B>อนิมิตฺตํ เจโต สมาธึ</B> ได้แก่ วิปัสสนา-
|
|
23,0012,009,จิตตสมาธิ. เจโตสมาธิที่เว้น จากนิมิตว่าเที่ยงเป็นต้นนั้น ท่านกล่าวว่า อนิมิต.
|
|
23,0012,010,บทว่า อิมเมวกายํ ท่านแสดงวัตถุด้วยวิปัสสนา. ในบทเหล่านั้น บทว่า
|
|
23,0012,011,อิมเมว ได้แก่ มหาภูตรูปทั้ง ๔ นี้. บทว่า <B>สฬายตนิกํ</B> แปลว่า ปฎิสังยุต
|
|
23,0012,012,ด้วยสฬายตนะ. บทว่า <B>ชีวิตปจฺจยา</B> ความว่า ชีวิตยังเป็นอยู่ได้ ก็ชั่วชีวิต
|
|
23,0012,013,ตินทรีย์ยังเป็นไป อธิบายว่า ปฐวีสัญญานั้น ยังมีความกระวนกระวายที่เป็นไป.
|
|
23,0012,014,เพื่อจะทรงแสดงความเห็นแจ้งโดยเฉพาะของวิปัสสนา จึงตรัสว่า <B>อนิมิตฺตํ</B> อีก.
|
|
23,0012,015,บทว่า <B>กามาสวํ ปฏจฺจ</B> แปลว่า อาศัยกามาสวะ. อธิบายว่า ความกระวน
|
|
23,0012,016,กระวายที่จะเกิดขึ้นและที่เป็นไปแล้ว ไม่มีในที่นี้ คือไม่มีในอริยมรรคและ
|
|
23,0012,017,อริยผล. บทว่า <B>อมิเมว กายํ</B> นี้ ตรัสเพื่อแสดงความกระวนกระวายของ
|
|
23,0012,018,เบ็ญจขันธ์ที่ยังเหลืออยู่. ด้วยประการฉะนี้ เป็นอันทรงเปลี่ยนมนุสสสัญญาเป็น
|
|
23,0012,019,คามสัญญา ฯลฯ มรรคเป็นวิปัสสนา แล้วทรงแสดงความว่างเปล่าล่วงส่วน
|
|
23,0012,020,โดยลำดับ. บทว่า <B>ปริสุทฺธํ</B> ได้แก่ ปราศจากอุปกิเลส. บทว่า <B>อนุตฺตรํ</B>
|
|
23,0012,021,แปลว่าเว้น จากสิ่งอื่นที่ยอดเยี่ยม คือประเสริฐสุดกว่าทุกอย่าง บทว่า <B>สุญฺตํ</B>
|
|
23,0012,022,ได้แก่ สุญญตาผลสมาบัติ บทว่า <B>ตสฺมา</B> ความว่า เพราะสมณพราหมณ์
|
|
|