|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
23,0011,001,เนวสัญญานาสัญญายจนสัญญา ยังเนวสัญญานาสัญญายตนสัญญา ให้เกิดด้วย
|
|
23,0011,002,วิปัสสนา ยังวิปัสสนาให้เกิดด้วยมรรค จักแสดงอัจจันตสุญญตาโดยลำดับ
|
|
23,0011,003,ฉะนั้น จึงเริ่มเทศนาอย่างนี้.
|
|
23,0011,004,ในบทเหล่านั้น บทว่า <B>ปวีสญฺํ</B> ความว่า เพราะเหตุไรจึงละ
|
|
23,0011,005,อรัญญสัญญาใส่ใจปฐวีสัญญา. เพราะบรรลุคุณพิเศษด้วยอรัญญสัญญา.
|
|
23,0011,006,เปรียบเหมือนบุรุษเห็นที่นา ซึ่งน่ารื่นรมย์และที่นาตั้งเจ็ดครั้ง ด้วยคิดว่า
|
|
23,0011,007,ข้าวสาลีเป็นต้น ที่หว่านลงในนานี้ จักสมบูรณ์ด้วยดี เราจักได้ลาภใหญ่
|
|
23,0011,008,ข้าวสาลีเป็นต้น ย่อมไม่สมบูรณ์เลย แต่ถ้าเขาทำที่นั้น ให้ปราศจากหลักตอ
|
|
23,0011,009,และหนามแล้ว ไถ หว่าน เมื่อเป็นอย่างนี้ ข้าวสาลีย่อมสมบูรณ์ ฉันใดภิกษุ
|
|
23,0011,010,ก็ฉันนั้น เหมือนกัน ใส่ใจป่านี้ให้เป็นอรัญญสัญญาถึงเจ็ดครั้งว่า นี้ป่า นี้ต้นไม้
|
|
23,0011,011,นี้ภูเขา นี้ไพรสนฑ์เขียวชะอุ่ม ย่อมบรรลุอุปจารสมาธิ. สำหรับ ปฐวีสัญญา
|
|
23,0011,012,ภิกษุนั้นกระทำปฐวีกสิณ บริกรรมให้เป็นกัมมัฏฐานประจำ ยังฌานให้เกิด
|
|
23,0011,013,เจริญวิปัสสนา ซึ่งมีฌานเป็นปทัฎฐาน สามารถจะบรรลุพระอรหัตได้
|
|
23,0011,014,เพราะฉะนั้น เธอย่อมละอรัญญสัญญาใส่ใจปฐวีสัญญา. บทว่า <B>ปฏิจฺจ</B> แปลว่า
|
|
23,0011,015,อาศัยกันเกิดขึ้น.
|
|
23,0011,016,บัดนี้ เพื่อจะแสดงข้อเปรียบเทียบปฐวีกสิณที่ภิกษุมีความสำคัญว่าปฐวี
|
|
23,0011,017,ในปฐวีกสิณ จึงตรัสคำมีอาทิว่า <B>เสยฺยถาปิ</B> ดังนี้. บรรดาบทเหล่านั้น บทว่า
|
|
23,0011,018,<B>อสุภสฺส เอตํ</B> คือ โคผู้องอาจ ความว่า โคเหล่าอื่น ถึงจะมีฝีบ้าง รอย
|
|
23,0011,019,ทิ่มแทงบ้าง หนังของโคเหล่านั้น เมื่อคลี่ออก ย่อมไม่มีริ้วรอย ตำหนิเหล่านั้น
|
|
23,0011,020,ย่อมไม่เกิดแก่โคอุสภะ เพราะสมบูรณ์ด้วยลักษณะ. ฉะนั้น จึงถือเอาหนังของ
|
|
23,0011,021,โคอุสภะนั้น บทว่า <B>สํกุสฺเตน</B> ได้แก่ ขอร้อยเล่ม. บทว่า <B>สุวิหตํ</B> ได้แก่
|
|
|