tripitaka-mbu / 17 /170050.csv
uisp's picture
add data
3c90236
Book,Page,LineNumber,Text
17,0050,001,<B>เราตถาคต จักแสดงวนปัตถปริยายสูตรแก่พวกเธอ</B> ดังนี้.
17,0050,002,ใช้ในฉัฏฐีวิภัตติ ดังในประโยคเป็นต้นว่า <B>ดูก่อนสารีบุตร เละ
17,0050,003,โมคคัลลานะ นี้เป็นสุภาษิตของเธอทั้งปวง</B> ดังนี้.
17,0050,004,ใช้ในอรรถว่า สักว่าทำบทให้เต็ม ดังในประโยคเป็นต้นว่า <B>ก็
17,0050,005,พระอริยะเหล่าใดมีกายกรรมบริสุทธิ์</B> ดังนี้. แต่ในที่นี้ <B>โว</B> ศัพท์นี้
17,0050,006,พึงทราบว่าใช้ในจตุตถีวิภัตติ.
17,0050,007,บทว่า <B>ภิกฺขเว</B> เป็นการตรัสเรียกภิกษุที่อยู่เฉพาะพระพักตร์ซ้ำอีก
17,0050,008,ด้วยการให้รับฟัง. บทว่า <B>เทเสสฺสามิ</B> เป็นการเตือนให้รู้ว่าจะแสดง
17,0050,009,ธรรม. อธิบายไว้ดังนี้ว่า ภิกษุทั้งหลาย เราจักแสดงมูลเหตุแห่งธรรม
17,0050,010,"ทั้งปวงแก่เธอทั้งหลาย, เราจักแสดงเทศนาอันเป็นตัวเหตุโดยนัยที่ ๒ แก่"
17,0050,011,พวกเธอ ดังนี้. สองบทว่า <B>ตํ สุณาถ</B> ความว่า เธอทั้งหลายจงฟังใจ
17,0050,012,ความนั้น คือเหตุนั้น ได้แก่เทศนานั้นที่เราจะกล่าวอยู่. ก็ ๒ บทนี้ว่า
17,0050,013,<B>สาธุกํ สาธุ</B> ในคำนี้ว่า <B>สาธุกํ มนสิกโรถ</B> ดังนี้ มีใจความอันเดียวกัน.
17,0050,014,<H1>หลักการใช้ สาธุ ศัพท์</H1>
17,0050,015,อนึ่ง <B>สาธุ</B> ศัพท์นี้ ใช้ในบททั้งหลายเป็นต้นว่า <B>อายาจนะ</B>
17,0050,016,(อ้อนวอน ) <B>สัมปฏิจฉนะ</B> (รับ) <B>สัมปหังสนะ</B> (ร่าเริง) <B>สุนทระ</B>
17,0050,017,(ดี) และ<B>ทัฬหีกรม</B> (ทำให้มั่น). อธิบายว่า :-
17,0050,018,<B>สาธุ</B> ศัพท์ ใช้ในอรรถว่า <B>อ้อนวอน</B> ดังในประโยคเป็นต้นว่า
17,0050,019,<B>ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ข้าพระองค์ขอวโรกาส ขอพระผู้มีพระภาคเจ้า
17,0050,020,จงทรงแสดงพระธรรมแก่ข้าพระองค์ โดยสังเขป</B> ดังนี้. ใช้ในอรรถ
17,0050,021,ว่า <B>รับ</B> ดังในประโยคเป็นต้นว่า <B>ภิกษุทั้งหลายเหล่านั้นแล ชื่นชม</B>