|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
07,0047,001,ปริมาณนี้คือ ช้างพัง ๖ เชือก กับช้างพลาย ๑ เชือก เป็นอนีกะหนึ่ง
|
|
07,0047,002,๗ อนีกะเช่นนี้ ชื่อว่า สัตตหัตถิกอนีกะ.
|
|
07,0047,003,บทว่า <B>ทิคุณา</B> ได้แก่ ๒ ชั้น.
|
|
07,0047,004,บทว่า <B>ติคุณา</B> ได้แก่ ๓ ชั้น รองเท้ามีชั้นตั้งแต่ ๔ ชั้นขึ้นไป
|
|
07,0047,005,พระผู้มีพระภาคเจ้าตรัสว่า รองเท้าหลายชั้น.
|
|
07,0047,006,บทว่า <B>สพฺพนีลกา</B> ได้แก่ เขียวล้วนทีเดียว. แม้ในสีท่าง ๆ มี
|
|
07,0047,007,เหลืองล้วนเป็นต้น ก็มีนัยเหมือนกัน. ก็บรรดารองเท้าสีเหล่านั้น รองเท้า
|
|
07,0047,008,เขียวคราม มีสีคล้ายสีดอกผักตบ รองเท้าเหลืองมีสีคล้ายดอกกรรณิการ์ รอง-
|
|
07,0047,009,เท้าแดง มีสีคล้ายดอกชบา รองเท้าแดงสำลาน คือแดงอ่อน มีสีคล้ายฝาง
|
|
07,0047,010,รองเท้าดำ มีสีคล้ายสีลูกประคำดีควาย รองเท้าแดงเข้ม มีสีคล้ายหลังตะขาบ
|
|
07,0047,011,"รองเท้าแดงกลาย ๆ มีสีเจือกัน คล้ายสีใบไม้เหลือง, แต่ในกุรุนทีแก้ว่ามีสีคล้าย"
|
|
07,0047,012,ดอกบัวหลวง. บรรดารองเท้าเหล่านี้ ภิกษุได้ชนิดใดชนิดหนึ่งแล้ว เอาผ้าเช็ค
|
|
07,0047,013,น้ำยาทำลายสีเสียแล้วสวม ควรอยู่. แม้ทำลายสีเสียเพียงเล็กน้อย ก็ควร
|
|
07,0047,014,เหมือนกัน.
|
|
07,0047,015,บทว่า <B>นีลวทฺธิกา</B> ได้แก่ รองเท้าที่มีหูเท่านั้นเขียว. แม้ในสีทั้งปวง
|
|
07,0047,016,มีสีเหลืองเป็นต้น มีนัยเหมือนกัน. แม้รองเท้าที่มีหูเขียวเป็นต้น เหล่านั้น
|
|
07,0047,017,ก็พึงทำลายสีเสียแล้วจึงค่อยสวม.
|
|
07,0047,018,บทว่า <B>ขลฺลกพทฺธา</B> ได้แก่ รองเท้าที่ทำติดแผ่นหนังที่พื้นขึ้นมา
|
|
07,0047,019,เพื่อปิดส้น. รองเท้าของชาวโยนกเรียกว่า รองเท้าหุ้มเป็นกระบอกได้แก่
|
|
07,0047,020,รองเท้าที่ปิดเท้าทั้งหมดจนถึงแข้ง.
|
|
07,0047,021,บทว่า <B>ปาลิคุณฺิมา</B> ได้แก่ รองเท้าที่หุ้มหลังเท้า ปิดแค่เพียงบน
|
|
07,0047,022,หลังเท่านั้น ไม่ปิดแข้ง.
|
|
07,0047,023,บทว่า <B>ตูลปุณฺณิกา</B> ได้แก่ รองเท้าที่ทำยัดด้วยปุยนุ่น.
|
|
|