|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
06,0038,001,อาการชั่ว. สัตว์เหล่าใด กำหนดเหตุที่ท่านกล่าวได้ คือเป็นผู้ที่สามารถจะให้
|
|
06,0038,002,รู้ได้โดยง่าย สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้ที่จะพึงสอนให้รู้ได้โดยง่าย. สัตว์เหล่าใด
|
|
06,0038,003,ไม่เป็นอย่างนั้น สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้ที่จะพึงสอนให้รู้โดยยาก. สัตว์เหล่าใด
|
|
06,0038,004,เห็นปรโลกและโทษโดยความเป็นภัย สัตว์เหล่านั้น ชื่อผู้มีปกติเห็นปรโลกและ
|
|
06,0038,005,โทษโดยความเป็นภัย.
|
|
06,0038,006,บทว่า <B>อุปฺปลินิยํ</B> ได้แก่ ในกออุบล. แม้ในบทนอกจากนี้ ก็นัย
|
|
06,0038,007,นี้เหมือนกัน.
|
|
06,0038,008,บทว่า <B>อนุโตนิมุคฺคโปสินี</B> ได้แก่ ดอกบัวที่ยังจมอยู่ภายในน้ำ อัน
|
|
06,0038,009,น้ำเลี้ยงไว้.
|
|
06,0038,010,บทว่า <B>สโมทกฏฺิตานิ</B> ได้แก่ ดอกบัวที่ทั้งอยู่เสมอน้ำ.
|
|
06,0038,011,หลายบทว่า <B>อุทกํ อจฺจุคฺคมฺม ติฏฺนฺติ</B> ได้แก่ ตั้งอยู่พ้นน้ำ.
|
|
06,0038,012,บทว่า <B>อปารุตา</B> ได้แก่ เปิดแล้ว.
|
|
06,0038,013,สองบทว่า <B>อมตสฺส ทฺวารา</B> ได้แก่ อริยมรรค. จริงอยู่ อริย-
|
|
06,0038,014,มรรคนั้น เป็นประตูแห่งพระนิพพาน กล่าวคือ อมตธรรม.
|
|
06,0038,015,สองบทว่า <B>ปมุญฺจนฺตุ สทฺธํ</B> มีความว่า ชนทั้งปวงจงปล่อย คือ
|
|
06,0038,016,จงสละความเชื่อของตน. ในสองบทข้างท้าย มีเนื้อความดังนี้นี่เอง เพราะว่า
|
|
06,0038,017,เราเป็นผู้มีความสำคัญว่าจะต้องลำบากกายวาจา จึงไม่ได้แสดงธรรมที่อุดม
|
|
06,0038,018,ประณีตนี้ แม้ที่เป็นไปดีแคล่วคล่องสำหรับตนในหมู่มนุษย์ คือ ในเทวดาและ
|
|
06,0038,019,มนุษย์ทั้งหลาย.
|
|
06,0038,020,<I>อรรถกถาพรหมยาจนกถา จบ</I>
|
|
|