|
Book,Page,LineNumber,Text
|
|
06,0010,001,บทว่า <B>ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ</B> ได้แก่ ปัจจยาการ. จริง ปัจจยาการท่าน
|
|
06,0010,002,เรียกว่า ปฏิจจสมุปบาท เพราะอรรถวิเคราะห์ว่า อาศัยกันและกัน ยังธรรม
|
|
06,0010,003,ที่สืบเนื่องกันให้เกิดขึ้น. ความสังเขปในบทว่า <B>ปฏิจฺจสมุปฺปาทํ</B> นี้ เท่านี้.
|
|
06,0010,004,ส่วนความพิสดาร ผู้ปรารถนาวินิจฉัยที่พร้อมมูลด้วยอาการทั้งปวง พึงถือเอา
|
|
06,0010,005,จากวิสุทธิมรรค และมหาปกรณ์.
|
|
06,0010,006,บทว่า <B>อนุโลมปฏิโลมํ</B> มีวิเคราะห์ว่า ตามลำดับด้วย ทวนลำดับ
|
|
06,0010,007,ด้วย ชื่อว่าทั้งตามลำดับทั้งทวนลำดับ. ผู้ศึกษาพึงเห็นความในบทอย่างนี้แล
|
|
06,0010,008,ว่า ในอนุโลมและปฏิโลมทั้ง ๒ นั้น ปัจจยาการมีอวิชชาเป็นต้น ที่ท่านกล่าว
|
|
06,0010,009,โดยนัยว่า <B>อวิชิชาปจฺจยา สงฺขารา</B> ดังนี้ เรียกว่า อนุโลม เพราะทำกิจที่ตน
|
|
06,0010,010,พึงทำปัจจยาการนั้นนั่นเอง ที่ท่านกล่าวโดยนัยเป็นต้นว่า <B>อวิชฺชาย เตฺวว
|
|
06,0010,011,อเสสวิราคนิโรธา สงฺขารนิโรโธ</B> ดังนี้ เมื่อดับเพราะนิโรธ คือไม่
|
|
06,0010,012,เกิดขึ้นย่อมไม่ทำกิจนั้น เพราะฉะนั้น จึงเรียกว่า ปฏิโลม เพราะไม่ทำกิจนั้น.
|
|
06,0010,013,อีกอย่างหนึ่ง ปัจจยาการที่กล่าวแล้ว ตามนัยก่อนนั่นแล เป็นไปตาม
|
|
06,0010,014,ประพฤติเหตุ นอกนี้เป็นไปย้อนประพฤติเหตุ. ก็แลความเป็นอนุโลมและปฎิโลม
|
|
06,0010,015,ในปัจจยาการนี้ ยังไม่ต้องด้วยเนื้อความอื่นจากนี้ เพราะท่านมิได้กล่าวตั้งแต่
|
|
06,0010,016,ต้นจนปลายและตั้งแต่ปลายจนถึงต้น.
|
|
06,0010,017,บทว่า <B>มนสากาสิ</B> ตัดบทว่า มนสิ อกาสิ แปลว่า ได้ทำในพระหฤทัย
|
|
06,0010,018,ในอนุโลมและปฏิโลมทั้ง ๒ นั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าได้ทรงทำในพระหฤทัย
|
|
06,0010,019,ด้วยอนุโลมด้วยประการใด เพื่อแสดงประการนี้ก่อนพระธรรมสังคาหกาจารย์
|
|
06,0010,020,จึงกล่าวคำว่า <B>อวิชฺชาปจฺจยา สงฺขารา</B> เป็นต้น. ในคำนั้นผู้ศึกษาพึงทราบ
|
|
06,0010,021,ความในทั้งปวงโดยนัยนี้ว่า อวิชฺชานี้ด้วย เป็นปัจจัยด้วย เพราะฉะนั้น ชื่อ
|
|
|